Page 110 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 110

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
สหพันธรัฐ4 แต่ท้ังนี้ในบางกรณี สหพันธรัฐอาจจะมีลักษณะ “ผสม” เช่น ในประเทศ แคนาดา สวิสเซอร์แลนด์ และมาเลเซีย ซึ่งมีการกระจายอําานาจการปกครองไปทุกรัฐ แต่บางรัฐที่มีจําานวนประชากรมากกว่าหรือมีทรัพยากรธรรมชาติจําานวนมาก รัฐบาล กลางอาจจะมีการถ่ายโอนอําานาจพิเศษให้กับรัฐเหล่าน้ี ทําาให้อําานาจระหว่างรัฐต่างๆ มีลักษณะอสมมาตร ส่วนใหญ่แล้ว การปกครองแบบสหพันธรัฐในรูปแบบนี้จะใช้ใน ประเทศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ ท้ังนี้ การกระจายอําานาจจากส่วนกลางไป สทู่ อ้ งถนิ่ เพอ่ื บรรเทาสถานการณค์ วามไมส่ งบจะมคี วามเหมาะสมตอ่ เมอ่ื ชนกลมุ่ นอ้ ย อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณหรือพ้ืนท่ีเดียวกัน
สําาหรับกรณีของรัฐท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์สูง แตช่ นกลมุ่ นอ้ ยไมไ่ ดอ้ าศยั อยใู่ นพน้ื ทเ่ี ดยี วกนั โดยตง้ั ถนิ่ ฐานกระจดั กระจายตามพนื้ ท่ี ต่างๆ ภายในอาณาเขตของรัฐ การกระจายอําานาจทางเขตแดน (Territorial Autonomy) จึงไม่สามารถนําามาปฏิบัติใช้ได้ในกรณีดังกล่าว แต่อาจจะมีการใช้หลัก การกระจายอําานาจที่ไม่เกี่ยวกับเขตแดน (Non-Territorial Autonomy, NTA) ซึ่ง เป็นเคร่ืองมือในการดําาเนินนโยบายของรัฐท่ีกระจายอําานาจ (Decentralisation of Power) ไปยังหน่วยทางการเมือง (Political Entities) ภายในรัฐ โดยหน่วยทางการ เมืองเหล่าน้ีจะใช้เขตอําานาจ (Jurisdiction) เหนือกลุ่มประชากรที่ถูกนิยามโดย ลักษณะเฉพาะส่วนบุคคล (เช่น สัญชาติทางชาติพันธุ์) มากกว่านิยามโดยที่ต้ังทาง ภูมิศาสตร์ (เช่น ภูมิภาคท่ีประชากรเหล่าน้ีอาศัยอยู่) ทั้งน้ี หลักการ NTA สามารถนําา มาปฏิบัติใช้กับทั้งกลุ่มประชากรท่ีอาศัยอยู่ภายในพรมแดนของรัฐหรือนอกพรมแดน ของรัฐ โดยปราศจากการตั้งคําาถามถึงหลักการสําาคัญในเร่ืองอาณาเขตของรัฐ การนําา หลักการ NTA มาใช้เป็นเครอ่ื งมือทางนโยบายของรัฐ นับเป็นการเปดิ ชอ่ งทางให้กล่มุ ประชากรทแี่ ตกตา่ งมสี ทิ ธใิ นการปกครองตนเอง (Self-Governance) เพอื่ ตอบสนอง ต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องหรือมีความสําาคัญต่อสมาชิกของกลุ่ม ทั้งนี้ หลักการ NTA ถูกพัฒนาขึ้นโดย Karl Renner ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20 เพ่ือใช้เป็นกลไกท่ีตอบสนอง
4 RuthLapidoth,Autonomy:flexiblesolutionstoethnicconflicts(Washington,DC: United States Institute of Peace Press, 1997).
 100






























































































   108   109   110   111   112