Page 116 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 116

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
การกระจายอําานาจการปกครองและโอกาสในการแยกเป็นรัฐอิสระ
มีนักวิชาการบางท่าน13 รวมท้ังผู้กําาหนดนโยบายได้แสดงความกังวลต่อผล กระทบจากการกระจายอาํา นาจการปกครองทอ่ี าจกลายเปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ความรสู้ กึ หรอื ความเข้มแข็งทางอัตลักษณ์ของชนกลุ่มน้อย อันท่ีจริงก็ยังไม่มีข้อสรุปท่ีแน่ชัดว่า การ กระจายอําานาจการปกครองจะบรรเทาหรือส่งเสริมปัญหาความไม่สงบ เพราะด้าน หนงึ่ มหี ลายประเทศทปี่ ระสบความสาํา เรจ็ ในการยตุ ปิ ญั หาความขดั แยง้ ซงึ่ เหน็ ไดจ้ าก ตวั อยา่ งของอาเจะห์ และไอรแ์ ลนดเ์ หนอื แตใ่ นอกี ดา้ นหนงึ่ เราจะเหน็ วา่ การกระจาย อําานาจการปกครองในบางรัฐกลายเป็นปัจจัยที่ส่งผลทําาให้ความขัดแย้งบานปลายจน นําามาสู่การแบ่งแยกดินแดน เช่น อดีตประเทศยูโกสลาเวียท่ีล่มสลายหลังปี 2534 แต่ ทงั้ นเี้ มอื่ วเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ ถงึ สาเหตแุ ละปจั จยั ตา่ งๆ ทท่ี าํา ใหร้ ฐั ทม่ี กี ารกระจายอาํา นาจการ ปกครองกลับประสบความล้มเหลวในการบรรเทาปัญหาความขัดแย้ง ซึ่งมักจะเป็น ผลจากการขาดเจตจําานงทางการเมืองในการกระจายอําานาจการปกครองอย่าง แท้จริง14 รวมถึงการใช้นโยบายต่างๆ ท่ีมีการกดขี่และจําากัดสิทธิของชนกลุ่มน้อย
แต่เม่ือพิจารณาถึงโครงสร้างระหว่างประเทศแล้ว โอกาสที่ชนกลุ่มน้อยจะ มีการแบ่งแยกดินแดนออกไปภายหลังการกระจายอําานาจการปกครองเป็นไปได้น้อย มาก เว้นเสียแต่ว่า ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีการกระทําาที่ถือว่าเป็นการก่ออาชญากรรมต่อ มนษุ ยชาติ (Crimes Against Humanity) และตอ่ ประชาชนผบู้ รสิ ทุ ธิ์ หรอื การฆา่ ลา้ ง เผา่ พนั ธ์ุ อนั สง่ ผลทาํา ใหส้ มาชกิ ถาวรของคณะมนตรคี วามมนั่ คงแหง่ สหประชาชาตติ อ้ ง ลงความเหน็ วา่ ฝา่ ยตา่ งๆ อยรู่ ว่ มกนั ไมไ่ ดภ้ ายใตข้ อบเขตของรฐั เดยี วกนั เชน่ ในกรณี ของซูดานใต้ซ่ึงได้กลายเป็นประเทศใหม่ล่าสุดของประชาคมโลกในปี 2554 แต่กรณี เช่นน้ีเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก เพราะการท่ีสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่ง สหประชาชาตจิ ะลงมตเิ ปน็ เอกฉนั ทร์ ว่ มกนั นนั้ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ย ตวั อยา่ งสาํา คญั คอื กรณี ของคอซอวอ (Kosovo) ซึ่งได้รับการรับรองอธิปไตยจากบางประเทศเท่าน้ัน อย่าง
13 เช่น S. Cornell, “Autonomy as a Source of Conflict: Caucasian Conflicts in Theoretical Perspective,” World Politics 54, no. 2 (2002): 245-276.
14 Ghai, “Introduction,” 23.
 106




























































































   114   115   116   117   118