Page 118 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 118
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
Secretary-General on an Agenda for Peace-Preventive Diplomacy, Peacemaking and Peace-Keeping18
สาเหตุที่จําากัดสิทธิในการกําาหนดอนาคตตนเองแบบภายนอกไว้ให้เฉพาะ พ้ืนท่ีท่ีเคยอยู่ภายใต้การปกครองของตะวันตก ก็เพราะประชาคมระหว่างประเทศให้ ความสําาคัญกับความมั่นคงระหว่างประเทศ และการเคารพอําานาจอธิปไตยของรัฐ อันเป็นหลักคิดสําาคัญของระบบระหว่างประเทศในปัจจุบันท่ียึดถืออําานาจรัฐเหนือ ขอบเขตดินแดนที่แน่นอน (Territorial Sovereignty) นอกจากน้ี โครงสร้างระหว่าง ประเทศยังมีการปกป้องอําานาจอธิปไตยของรัฐด้วยหลักการอ่ืนๆ ซ่ึงระบุในเอกสาร ตา่ งๆ ของสหประชาชาติ เชน่ หลกั การไมแ่ ทรกแซงกจิ การภายใน (Non-intervention in domestic affairs by the United Nations) ซ่ึงระบุในมาตรา 2(7) ของกฎบัตร สหประชาชาติ และการยึดถือความเสมอภาคกันในอําานาจอธิปไตยของทุกรัฐ (Sovereign Equality) ซ่ึงระบุในปฏิญญาสมัชชาใหญ่ (สหประชาชาติ) ว่าด้วยความ สัมพันธ์ฉันท์มิตร ปี 2513 (The General Assembly’s Declaration on Friendly Relations 1970) เป็นต้น
ส่วนสิทธิในการกําาหนดอนาคตตนเองแบบภายใน (Internal Self-Deter- mination)19 หมายรวมถึงสิทธิของคนท่ีจะรับประโยชน์จากการพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ รวมทั้งการกําาหนดสถานะ
18 United Nations, “United Nations: Report of the Secretary-General on an Agenda for Peace-Preventive Diplomacy, Peacemaking and Peace-Keeping,” International Legal Materials 31, no. 4 (1992): 953-975.
19 Cristiana Carletti, “Sustaining Peace and Internal Self-Determination in the UN Perspective,” E-International Relations, 17 March 2020, https://www.e-ir. info/2020/03/17/sustaining-peace-and-internal-self-determination-in-the-un-per- spective/, 3.
108