Page 119 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 119

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ทางการเมอื งภายในรฐั 20 เพอื่ ความชดั เจนสทิ ธใิ นการกาํา หนดอนาคตตนเองแบบภายใน จะไมไ่ ดม้ ผี ลตอ่ การปรบั เปลย่ี นอาณาเขตของรฐั เหมอื นกบั สทิ ธใิ นการกาํา หนดอนาคต ตนเองแบบภายนอก แต่เป็นสิทธิเพ่ือเปิดโอกาสให้กลุ่มท่ีมีความแตกต่างได้กําาหนด ทิศทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซ่ึงจะมีผลต่อความเป็นอยู่ของพวก เขา หลักการนี้มีความสอดคล้องกับหลักการกระจายอําานาจในรูปแบบต่างๆ รวมท้ัง กฎหมายและกติการะหว่างประเทศที่มีลักษณะเป็นมาตรการป้องกันความขัดแย้ง เชน่ กตกิ าระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม (Interna- tional Covenant on Economic, Social and Cultural Rights, ICESCR) และ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights, ICCPR) เป็นต้น
ในส่วนต่อไปจะวิเคราะห์ถึงการกระจายอําานาจการปกครองในฐานะเป็น เคร่ืองมือในการบรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบผ่าน 3 กรณีศึกษาด้วยกัน ได้แก่ ไอรแ์ ลนดเ์ หนอื (สหราชอาณาจกั ร) อาเจะห์ (อนิ โดนเี ซยี ) และอดตี ประเทศยโู กสลาเวยี ในกรณีของไอร์แลนด์เหนือและอาเจะห์ได้แสดงให้เห็นว่า 1) การกระจายอําานาจการ ปกครองทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั หลกั การประชาธปิ ไตยของการเคารพสทิ ธขิ องชนกลมุ่ น้อยสามารถบรรเทาความขัดแย้งได้จริง 2) โครงสร้างระหว่างประเทศไม่ได้สร้าง เง่ือนไขให้รัฐที่มีปัญหาภายในต้องกระจายอําานาจการปกครอง แต่กระบวนการ กระจายอําานาจมาจากเจตจําานงของรัฐเอง และ 3) การกระจายอําานาจการปกครอง ในฐานะเป็นเครื่องมือในการบรรเทาความขัดแย้งไม่ได้ใช้กันเฉพาะในประเทศที่ ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตยแบบตะวันตกเท่าน้ัน ในทางตรงกันข้าม กรณีของ อดีตยูโกสลาเวียแสดงให้ว่า การกระจายอําานาจการปกครองที่ใช้ร่วมกับนโยบาย
20 Michel Seymour, “Internal Self-Determination and Secession,” in The Ashgate Research Companion to Secession, eds. Aleksandar Pavkovic and Peter Radan (Farnham: Ashgate, 2011), 385.
 109






























































































   117   118   119   120   121