Page 123 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 123

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
มนุษยชนในกระบวนการสร้างสันติภาพ และการปล่อยนักโทษทางการเมือง27 ประการที่สอง สิทธิในการกําาหนดอนาคตตนเอง (Self-Determination) กล่าวคือ แม้ว่าไอร์แลนด์เหนือยังคงมีสถานะเป็นดินแดนส่วนหน่ึงของอังกฤษ ทว่า ข้อตกลงดังกล่าวก็ให้การคุ้มครองสถานะของไอร์แลนด์เหนือตามรัฐธรรมนูญ โดยให้ สทิ ธแิ์ กก่ ลมุ่ ผลู้ งคะแนนเสยี งขา้ งมากไดม้ โี อกาสลงประชามตเิ พอื่ เปลย่ี นแปลงสถานะ ของไอร์แลนด์เหนือ28 อันนําาไปสู่การปรับเปล่ียนการจัดการภายใน (International Arrangement) ระหวา่ งรฐั บาลองั กฤษและรฐั บาลสาธารณรฐั ไอรแ์ ลนด์ กลา่ วคอื หาก กลมุ่ ผลู้ งคะแนนเสยี งขา้ งมากเลอื กใหไ้ อรแ์ ลนดเ์ หนอื รวมเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสาธารณรฐั ไอร์แลนด์ รัฐมนตรีว่าการไอร์แลนด์เหนือ (The Secretary of State) โดยเป็น ตําาแหน่งที่อยู่ในรัฐบาลของอังกฤษซึ่งมีหน้าที่กําากับดูแลกิจการที่เก่ียวข้องกับ ไอร์แลนด์เหนือก็จะยื่นข้อเสนอไปยังรัฐบาลสาธารณรัฐไอร์แลนด์29 ในขณะเดียวกัน สาธารณรัฐไอร์แลนด์ก็ได้เปล่ียนบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทั้งสองประการท่ีเก่ียวข้อง กบั อาณาเขตของประเทศ รวมทง้ั มาตราทเี่ กยี่ วกบั หลกั การใชก้ ฎหมายของสาธารณรฐั ไอร์แลนด์ในไอร์แลนด์เหนือ30 ในการนี้ ท้ังสองประเทศจะจัดตั้งสถาบันร่วม (Joint Institution) ระหว่างรัฐบาลอังกฤษและรัฐบาลสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ได้แก่ British– Irish Council (BIC) และ British–Irish Intergovernmental Conference (BIIC)
27 Sriram, Peace as Governance: Power-Sharing, Armed Groups and Contemporary Peace Negotiations; McCrudden, “Northern Ireland, the Belfast Agreement, and the British Constitution.”
28 JohnAlder,GeneralPrinciplesofConstitutionalandAdministrativeLaw(London: Palgrave, 2015), 369.
29 Ibid.
30 John Doyle, “Towards a Lasting Peace?: the Northern Ireland multi–party agree-
ment, referendum and Assembly elections of 1998,” Scottish Affairs (1998), http:// ssrn.com/abstract=1297928
 113



























































































   121   122   123   124   125