Page 125 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 125
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
แต่สามารถถ่ายโอนให้อยู่ในอําานาจหน้าที่ของรัฐบาลไอร์แลนด์เหนือได้ หากเป็น ข้อตกลงที่เกิดข้ึนจากประชาชนของไอร์แลนด์เหนือ35
ทงั้ น้ี การกระจายอาํา นาจการปกครองในกรณขี องไอรแ์ ลนดเ์ หนอื จะใชค้ าํา วา่ “Devolution” ที่มีลักษณะคล้ายกับการกระจายอําานาจ (Decentralisation) ในความหมายทว่ั ไป แตม่ จี ดุ เดน่ ตรงที่ Devolution จะเปน็ การกระจายอาํา นาจบรหิ าร และนิติบัญญัติ ทําาให้ไอร์แลนด์เหนือมีอําานาจในออกกฎหมายและนโยบายท่ีมีส่วน เก่ียวข้องกับชีวิตประจําาวันของประชาชนในไอร์แลนด์เหนือ ซ่ึงอยู่ในขอบข่ายของ Transferred Matter36 ท้ังน้ี รูปแบบการกระจายอําานาจการปกครองให้กับรัฐบาล ภูมิภาคของไอร์แลนด์เหนือภายใต้ข้อตกลง Belfast สะท้อนให้เห็นถึงรูปแบบการ กระจายอาํานาจแบบอสมมาตร(AsymmetricDecentralisationหรอื Asymmetric Autonomy) ทถ่ี า่ ยโอนอาํา นาจการปกครองตนเองใหแ้ กร่ ฐั บาลของภมู ภิ าคใดภมู ภิ าค หนงึ่ แบบเฉพาะเจาะจง ในการนี้ องั กฤษไดใ้ ชต้ วั แบบโครงสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าคแบบหลวมๆ ในลกั ษณะทใี่ กลเ้ คยี งกบั ตวั แบบการปกครอง แบบสหพันธรัฐ เพื่อรักษารูปแบบความเป็นรัฐเด่ียว (Unitary) ของตนไว้ ท้ังนี้ การ กระจายอําานาจแบบอสมมาตรของไอร์แลนด์เหนือมีบทบาทสนับสนุนกระบวนการ สร้างสันติภาพในแง่ท่ีว่า มีส่วนช่วยแก้ไขความขัดแย้งระหว่างส่วนกลางและส่วน
35 Matthew Leek, Chris Sear and Oonagh Gay, “An Introduction To Devolution in The UK,” Research Paper 03/84, Parliament And Constitution Centre–House Of Commons Library, London, 17 November, 2003, http:///www.parliament.uk/ commons/lib/research/rp2003/rp03-084.pdf, 28-29; Connie Smith, “Devolution in the UK: Powers and Structures in Scotland, Wales and Northern Ireland,” Artikel Briefting No.1 (2008) http://www.clicp.ed.ac.uk/publications/briefing01.pdf, 3.
36 Northern Ireland Assembly, “Devolution,” https://education.niassembly.gov.uk/ post_16/snapshots_of_devolution/gfa/devolution
115