Page 127 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 127
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
น้ัน นอกเหนือจากข้อเท็จจริงที่ว่า ภูมิภาคไอร์แลนด์เหนือยังคงปรากฏความรุนแรง ในระดับชุมชน (Intra–Communal Violence) ท่ีเกิดขึ้นอย่างประปรายนั้น ความ รนุ แรงขนาดใหญก่ ลบั ไมเ่ คยเกดิ ขน้ึ อกี เลย เพราะคขู่ ดั แยง้ หลกั ๆ ดงั เชน่ Nationalist และ Unionist ลว้ นไมต่ อ้ งการทจี่ ะกลบั ไปใชก้ ารทาํา สงครามเปน็ เครอ่ื งมอื เพอื่ ใหบ้ รรลุ เปา้ หมายทางการเมอื งของกลมุ่ ตนเอง40 กระบวนการสรา้ งสนั ตภิ าพในไอรแ์ ลนดเ์ หนอื จึงมีส่วนสร้างสภาวะความเป็นปกติ (Normality) และสันติภาพให้แก่สังคมได้ใน ระยะยาว
กรณีศึกษาที่ 2: ประสบการณ์ของการเจรจาเงื่อนไขของการกระจาย อําานาจการปกครองในอาเจะห์
ในลักษณะที่คล้ายคลึงกับกรณีของไอร์แลนด์เหนือ การกระจายอําานาจใน ประเทศอินโดนีเซียได้กลายเป็นเครื่องมือประการสําาคัญในการยุติความขัดแย้งท่ี ดําาเนินการมายาวนาน ทั้งนี้ความคิดท่ีจะกระจายอําานาจการปกครองเพื่อบรรเทา ปัญหาระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์สืบเน่ืองมาจากการที่ธนาคารโลก (World Bank) และ กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (International Monetary Fund, IMF) ซงึ่ มบี ทบาท ในการชว่ ยแกป้ ญั หาวกิ ฤตเศรษฐกจิ เอเชยี ณ ขณะนนั้ ไดใ้ หค้ าํา แนะนาํา เชงิ นโยบายเพอื่ ส่งเสริมความเข้มแข็งให้กับสถาบันในระดับท้องถิ่นและหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) นอกจากนี้ ยังมีเสียงเรียกร้องจากภาคส่วนต่างๆ ภายในประเทศโดย เฉพาะจากภาคประชาสังคมและธุรกิจท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีต่างๆ ของเกาะรอบนอกท่ีมีความ ตอ้ งการใหร้ ฐั บาลปรบั เปลยี่ นโครงสรา้ งทางการเมอื งทรี่ วมศนู ยอ์ าํา นาจ ปจั จยั ดงั กลา่ ว ทาํา ใหเ้ กดิ การถกเถยี งอยา่ งกวา้ งขวางถงึ รปู แบบการกระจายอาํา นาจการปกครองตา่ งๆ ท่ีจะมีความเหมาะสมกับประเทศอินโดนีเซีย โดยรวมแล้ว นักการเมืองอินโดนีเซีย ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การมรี ปู แบบการปกครองแบบสหพนั ธรฐั เนอื่ งจากประเทศอนิ โดนเี ซยี
40 Landon E. Hancock, “The Northern Irish Peace Process: From Top to Bottom”, International Studies Review 10, no. 2 (2008): 204.
117