Page 129 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 129

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
หรือร่วมรับผลประโยชน์จากโครงการพัฒนาของรัฐบาลกลาง ท้ังๆ ที่อุตสาหกรรม นํา้ามันและแก๊สธรรมชาติในอาเจะห์ทําารายได้ให้กับประเทศสูงถึง 2,000-3,000 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี43 ด้วยสาเหตุท้ัง 2 ประการดังกล่าว ทําาให้รัฐบาลอินโดนีเซีย เล็งเห็นถึงความสําาคัญของการกระจายอําานาจทางด้านการบริหารและการจัดการ ทรัพยากรในพ้ืนท่ี
การเจรจาถงึ รปู แบบการกระจายอาํา นาจการปกครองเพอื่ ยตุ คิ วามขดั แยง้ ใน อาเจะห์มีถึง 3 คร้ัง ซ่ึงดําาเนินการภายใต้ประธานาธิบดี 3 คน แม้ว่าการเจรจาใน 2 คร้ังแรกประสบความล้มเหลว แต่ทั้ง 2 ฝ่ายสามารถบรรลุข้อตกลงทางสันติภาพใน ครั้งท่ี 3 โดยส่วนหนึ่งท่ีการเจรจาทางสันติภาพท้ัง 2 คร้ัง ไม่สามารถยุติความ ขดั แยง้ ได้ เพราะขอ้ เสนอของการกระจายอาํา นาจไมไ่ ดม้ งุ่ แกป้ ญั หาทส่ี าเหตขุ องปญั หา44 กล่าวคือ ในเดือนกันยายนปี 2542 รัฐบาลประธานาธิบดีนายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด ได้ ประกาศใช้กฎหมาย (Law No. 44/1999) เพื่อรับรองสถานะของจังหวัดอาเจะห์ใน ฐานะเป็นเขตปกครองพิเศษ (Special Status of the Special Province of Aceh) หรือที่เรียกกันส้ันๆ ว่า “Special Autonomy” ซ่ึงเป็นการกระจายอําานาจการ ปกครองเพื่อให้รัฐบาลในระดับจังหวัดมีอําานาจในการบริหารจัดการเร่ืองที่เกี่ยวกับ ศาสนา การศึกษา และวัฒนธรรม (Adat Law) แต่เน่ืองจากร่างกฎหมายฉบับนี้ไม่ได้ มีการกระจายอําานาจทางด้านการเมืองหรือการบริหารทรัพยากร ประชาชนอาเจะห์ จึงไม่ได้ให้การสนับสนุนการกระจายอําานาจการปกครองในรูปแบบดังกล่าว โดยมอง ว่า “เป็นของขวัญไม่พึงประสงค์” จากรัฐบาล45
ในสมัยถัดมา ภายใต้การนําาของประธานาธิบดีนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี รัฐบาลอินโดนีเซียได้เสนอร่างกฎหมาย Law No. 18/2001 ในปี 2544 เพื่อรองรับ
43 HalHill,“Introduction,”inUnityandDiversity:RegionalEconomicDevelopment in Indonesia since 1970, ed. Hall Hill (Singapore: Oxford University Press, 1989), 6.
44 Miller, “Self-Governance as a Framework,” 42. 45 Ibid.
 119




























































































   127   128   129   130   131