Page 131 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 131
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ของจําานวนตําาบลท้ังหมดในแต่ละเขต46 ทําาให้พรรคการเมืองของอินโดนีเซียแต่ละ พรรคตอ้ งเปดิ สาขาพรรคจาํา นวนนบั พนั ไปทวั่ ประเทศอนิ โดนเี ซยี ดว้ ยเงอื่ นไขดงั กลา่ ว ทําาให้กลุ่ม GAM ท่ีต้องการลงสมัครในตําาแหน่งทางการเมืองใดๆ จําาเป็นต้องสังกัด พรรคการเมืองระดับชาติ ในความเห็นของกลุ่ม GAM พรรคเหล่านี้ถูกครอบงําาโดย นกั การเมอื งในจาการต์ าหรอื คนเกาะชวามาโดยตลอด ซงึ่ ไมไ่ ดม้ กี ารตระหนกั ถงึ ปญั หา ต่างๆ ในพื้นท่ีอาเจะห์ ดังน้ัน ด้วยข้อกําาหนดดังกล่าวทําาให้กลุ่ม GAM คิดว่า การ กระจายอาํา นาจในรปู แบบนจี้ ะมผี ลในการปดิ กนั้ โอกาสของชาวอาเจาะหใ์ นการมสี ว่ น ร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่
ในเวลาต่อมา สถานการณ์เร่ิมทวีความรุนแรงย่ิงขึ้น อันส่งผลทําาให้พลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (ซ่ึงขณะน้ันดําารงตําาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงประสาน งานการเมอื งและความมน่ั คง) ไดย้ นื่ คาํา ขาดให้ GAM รบั ขอ้ เสนอ Special Autonomy ของรัฐบาลก่อนการส้ินสุดเดือนรอมฎอน (ซึ่งตรงกับเดือนธันวาคม ปี 2545)47 มิฉะนั้น รัฐบาลจะใช้มาตรการทางทหารข้ันเด็ดขาดในการปราบปรามกลุ่ม GAM หลังจากน้ัน แม้ว่ากลุ่ม GAM มีการเจรจากับรัฐบาลถึงเงื่อนไขของการปลดอาวุธและ การรักษาความม่ันคงในพ้ืนที่ แต่ในท่ีสุด การเจรจาหยุดชะงักไป และรัฐบาล อินโดนีเซียได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก (Martial Law) ในพ้ืนท่ีอาเจะห์ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 เป็นระยะเวลา 6 เดือน และขยายเวลาต่อมาอีก 6 เดือนในรูปแบบ ของกฎหมายฉุกเฉิน (Civil Emergency) ทําาให้การเจรจาทางสันติภาพหยุดชะงักไป จนกระทั่งพลเอกซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน ได้ข้ึนมาดําารงตําาแหน่งประธานาธิบดีของ อินโดนีเซียในปี 2547
ภายใตก้ ารเจรจารอบใหม่ รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี ไดเ้ ปลยี่ นตวั กลางในการเจรจา จาก HDC มาเป็น CMI (โปรดดูรายละเอียดตามตาราง 3.1 ในบทท่ี 3) โดยมีอดีต
46 Ben Hillman, “Ethnic politics and local political parties in Indonesia,” Asian Ethnicity 13, no. 4 (2012): 421-422.
47 JakartaPost,“Governmentmullsmilitarycrackdownagainstseparatistmovement in Aceh,” 4 July 2002.
121