Page 130 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 130
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
“Special Autonomy” แตไ่ มไ่ ดเ้ ปดิ โอกาสใหฝ้ า่ ย GAM หรอื ภาคสว่ นตา่ งๆ ในพนื้ ท่ี อาเจะห์มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อรูปแบบของการกระจายอําานาจการ ปกครอง เนื้อหาสําาคัญของกฎหมายเพื่อรองรับ “Special Autonomy” ได้แก่ การ เปลี่ยนช่ืออาเจะห์เป็น Nanggroe Aceh Darussalam และการกระจายอําานาจไปท่ี ระดับจังหวัดเพื่อเปิดโอกาสให้ชาวอาเจะห์ได้บริหารจัดการรายได้ที่มาจาก ทรัพยากรธรรมชาติของพ้ืนที่ นอกจากนั้น กฎหมาย Special Autonomy ยังเปิด ช่องทางให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด (Provincial Governor) และนายก เทศบาล (Wali Kota) โดยตรง อีกท้ัง ยังมอบอําานาจให้ผู้ว่าฯ ประสานงานกับตําารวจ ในประเด็นความมั่นคงในพื้นท่ี แต่ที่สําาคัญ รัฐบาลอินโดนีเซียได้เสนอให้มีตําาแหน่ง “ผู้นําาทางวัฒนธรรม” ที่เรียกว่า วาลี นางโกร (Wali Nanggroe) ทั้งนี้ ตําาแหน่งดัง กล่าวจะไม่มีบทบาทหรืออําานาจทางการเมือง แต่เป็นตําาแหน่งเชิงสัญลักษณ์เพ่ือรอง รับตวนกูฮาซัน ดี ทีโร ท่ีเป็นผู้นําาฝ่าย GAM
แมว้ า่ ขอ้ เสนอดงั กลา่ วดเู หมอื นวา่ จะเปน็ การแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ทต่ี น้ เหตุ และยงั มขี อ้ เสนอเพอื่ รองรบั ผนู้ าํา กลมุ่ GAM โดยเฉพาะ แตก่ ลมุ่ GAM กลบั ปฏเิ สธรา่ ง กฎหมาย Special Autonomy เนื่องจากทางกลุ่มมีความเห็นว่า ร่างกฎหมายฉบับน้ี ได้ปิดก้ันบทบาทและโอกาสของสมาชิกกลุ่ม GAM ในการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการกิจการในพ้ืนท่ี กล่าวคือ ใครก็ตามที่การลงสมัครในตําาแหน่งต่างๆ ของรัฐบาล ในระดับจังหวัดจําาเป็นต้องสังกัดพรรคการเมือง แต่รัฐธรรมนูญอินโดนีเซียกําาหนดว่า พรรคการเมอื งจะตอ้ งเปน็ พรรคเมอื งระดบั ชาตเิ ทา่ นนั้ ซงึ่ หมายความวา่ พรรคการเมอื ง จําาเป็นต้องมีคณะกรรมการบริหารพรรคอย่างน้อยใน 12 จังหวัด (หรือเทียบเท่ากับ ร้อยละ 50 ของจําานวนจังหวัดทั้งหมดในประเทศอินโดนีเซีย) โดยที่คณะกรรมการ บริหารพรรคเหล่าน้ันจะต้องอยู่ในเขตและเมืองจําานวนครึ่งหน่ึงของจําานวนเขต (Kabupaten) และเมอื ง (Kota) ทงั้ หมดในจงั หวดั เหลา่ นนั้ นอกจากนี้ พรรคการเมอื ง จาํา เปน็ จะตอ้ งตงั้ สาขาของพรรคในระดบั ตาํา บล (Kecematan) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 25
120