Page 128 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 128

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
มปี ระสบการณเ์ ชงิ ลบจากการใชร้ ะบบสหพนั ธรฐั ในชว่ งทไี่ ดร้ บั เอกราชใหมๆ่ 41 ในทา้ ย ที่สุด ฝ่ายการเมืองในอินโดนีเซียได้ตกลงให้มีการกระจายอําานาจใน 2 ด้านด้วยกัน ไดแ้ ก่ การกระจายอาํา นาจทางดา้ นบรหิ าร และการกระจายอาํา นาจทางดา้ นงบประมาณ
ดังท่ีกล่าวมาแล้วในบทที่ 3 กระบวนการสันติภาพในอาเจะห์ก่อตัวขึ้น ภายใตบ้ รบิ ททม่ี กี ารปฏริ ปู ทางการเมอื ง (Reformasi) ใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย (Demo- cratisation) และการกระจายอําานาจท่ัวประเทศ ทําาให้ทางรัฐบาลอินโดนีเซียย่ืนข้อ เสนอให้มีการกระจายอําานาจการปกครองในพื้นที่อาเจะห์ที่มีลักษณะ “พิเศษ” โดย เปน็ การกระจายอาํา นาจไปทรี่ ะดบั จงั หวดั ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งจากทอ่ี นื่ ๆ ทมี่ กี ารกระจาย อําานาจไปที่ระดับอําาเภอ ท่ีสําาคัญข้อเสนอเหล่านี้ไม่ได้ทําาลายความเป็นรัฐเด่ียวหรือ ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู ของสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี แตอ่ ยา่ งใด รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี เชอื่ วา่ การ จดั ตง้ั เขตปกครองตนเองทอี่ าเจะหจ์ ะเปน็ แนวทางในการแกไ้ ขความขดั แยง้ เนอ่ื งจาก สาเหตุความขัดแย้งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักด้วยกัน ได้แก่ สาเหตุแรก ชาวอาเจะห์ มีความรู้สึกว่าถูกลิดรอนอําานาจทางการเมือง ซึ่งเกิดจากการที่อดีตประธานาธิบดี ซกู ารโ์ น (ซงึ่ ดาํา รงตาํา แหนง่ ในชว่ งระหวา่ ง ค.ศ. 2492-2509) ไดเ้ คยใหค้ าํา มนั่ สญั ญาวา่ จะให้อาเจะห์เป็นเขตปกครองตนเอง แต่หลังจากเหตุการณ์เกสตาปู (Gestapu) ได้ นําาไปสู่การส้ินสุดอําานาจของประธานาธิบดีซูการ์โน นายพลซูฮาร์โตซึ่งขึ้นมาดําารง ตําาแหน่งประธานาธิบดีแทนกลับรวบอําานาจไว้ที่ส่วนกลาง ทําาให้ชาวอาเจะห์มีความ รสู้ กึ วา่ รฐั บาลกลางผดิ สญั ญาทใ่ี หไ้ วใ้ นอดตี สาเหตทุ สี่ อง สบื เนอ่ื งจากปจั จยั ทางดา้ น เศรษฐกิจที่ชาวอาเจะห์มีความรู้สึกว่า รัฐบาลกลางมีการแสวงหาผลประโยชน์จาก ความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติของอาเจะห์ ไม่ว่าจะเป็นน้ําามัน ก๊าซ ธรรมชาติ และแร่ธาตุจําานวนมาก42 แต่ชาวอาเจะห์เองกลับไม่ได้สัมผัสกับความมั่งค่ัง
41 Michelle Ann Miller, “Self-Governance as a Framework for Conflict Resolution in Aceh,” in Autonomy and Armed Separatism in South and Southeast Asia, ed. Michelle Ann Miller (Singapore: ISEAS, 2012), 40.
42 Geoffrey Robinson, “Rawan Is as Rawan Does?: The Origins of Disorder in New Order Aceh” in Violence and the State in Suharto’s Indonesia, ed. Anderson Benedict R.O’G. (Ithaca, New York: Cornell Southeast Asia Publications, 2001), 220.
 118





























































































   126   127   128   129   130