Page 133 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 133

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ต้ังหน่วยงาน Aceh Monitoring Mission (AMM) หรือผู้สังเกตการณ์เพื่อดูแลไม่ให้ ฝา่ ยใดฝา่ ยหนง่ึ มกี ารละเมดิ ขอ้ ตกลงในระยะเบอื้ งตน้ และการจดั ตงั้ หนว่ ยงานในการ ให้ความช่วยเหลือแก่นักต่อสู้ให้สามารถกลับคืนสู่สังคมได้ (Reintegration) และ ประกอบอาชีพภายใต้สภาพแวดล้อมใหม่ท่ีปราศจากความขัดแย้ง
แม้ว่ามีปัจจัยหลายประการท่ีทําาให้รัฐบาลอินโดนีเซียและกลุ่ม GAM สามารถบรรลุข้อตกลงทางสันติภาพได้ แต่ท่ีสําาคัญคือ คณะเจรจาฝ่ายรัฐบาล ประธานาธบิ ดพี ลเอก ซซู โิ ล บมั บงั ยโู ดโยโน ไดเ้ ปดิ โอกาสใหก้ ลมุ่ GAM ไดม้ สี ว่ นรว่ ม ในการแสดงความคิดเห็นต่อข้อเสนอในการจัดตั้งจังหวัดอาเจะห์เป็นเขตปกครอง ตนเอง ในเชิงเปรียบเทียบ รัฐบาลของนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี กลับไม่ได้ให้โอกาส เช่นน้ี แต่บังคับให้กลุ่ม GAM รับข้อเสนอของ Special Autonomy ท่ีรัฐบาลได้ร่าง ไว้แล้ว และมีการขู่ว่าจะปราบปรามกลุ่ม GAM อย่างหนัก ซ่ึงทําาให้กระบวนการ สันติภาพหยุดชะงักลง จนถึงวันน้ีกลุ่ม GAM ไม่ได้กลับมาจับอาวุธใหม่ แม้ว่าสังคม และการเมอื งในอาเจะหย์ งั คงประสบปญั หาอยบู่ า้ ง แตป่ ญั หาเหลา่ นไี้ มไ่ ดม้ ที า่ ทวี า่ จะ มีผลในการสร้างความไม่พอใจในหมู่ชาวอาเจะห์จนถึงข้ันต้องกลับมาต่อสู้กับรัฐบาล อินโดนีเซีย
กรณีศึกษาที่ 3: ประสบการณ์ของการกระจายอําานาจการปกครองใน ยูโกสลาเวียจนนําาไปสู่การแบ่งแยก
ยโู กสลาเวยี เปน็ ประเทศยโุ รปตะวนั ออกทเี่ กดิ ใหมใ่ นปี 2489 โดยมรี ปู แบบ การปกครองแบบสหพันธรัฐสังคมนิยม (Socialist Federation) อันประกอบด้วย สาธารณรัฐ “แห่งชาติ” (National Republics) จําานวน 6 สาธารณรัฐ (ได้แก่ สโลวีเนีย โครเอเชีย บอสเนีย เฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร มาซิโดเนีย และเซอร์เบีย ตลอดจนจงั หวดั ปกครองตนเอง 2 จงั หวดั ไดแ้ ก่ วอจโ์ วดนิ า่ และคอซอวอ) ยโู กสลาเวยี เปน็ รฐั ทป่ี ระกอบดว้ ยชนเผา่ หลากหลายชาตพิ นั ธท์ุ ย่ี งั คงสบื ทอดความเปน็ ปรปกั ษท์ าง ประวัติศาสตร์ (Historical Animosities) ระหว่างกลุ่มชาตินิยมที่เน้นความเป็น ชาตพิ นั ธ์ุ (Ethnic–Nationalist Groups) ซงึ่ สาํา หรบั บรบิ ทของยโู กสลาเวยี คาํา วา่ กลมุ่
123





























































































   131   132   133   134   135