Page 148 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 148
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
จะเข้าข่ายเป็นการขัดแย้งทางอาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศตามข้อถกเถียงของนัก กฎหมายระหว่างประเทศนั้น แต่ก็มิอาจส่งผลต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ การแทรกแซงระหว่างประเทศ เนื่องข้อจําากัดทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ
ข้อจําากัดทางโครงสร้างระหว่างประเทศในการแทรกแซงปัญหาภายใน ประเทศสะท้อนให้เห็นได้จากปัญหาในรัฐยะไข่ ซึ่ง Zeid Ra‘ad al-Hussein แห่ง สําานักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ล้ีภัยแห่งสหประชาชาติได้เรียกเหตุการณ์นี้ว่าเป็น “การล้าง เผา่ พนั ธแ์ุ บบในตาํา รา”1 มกี ารประมาณการวา่ มชี าวโรฮงิ ญาเสยี ชวี ติ สงู ถงึ 25,000 คน ในปี 25602 โดยท่ีมีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 6,700 ราย เพียงในเดือนแรกของเหตุการณ์ (ระหว่างวันที่ 25 สิงหาคมจนถึงวันที่ 24 กันยายน 2560)3 นอกจากน้ียังมีผู้ล้ีภัยชาว โรฮิงญาอีกจําานวน 700,000 คน ที่ส่วนใหญ่หล่ังไหลเข้าไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยท่ีเมือง คอกส์บาซาร์ (Cox Bazaar) ในประเทศบังกลาเทศ แต่ถึงกระนั้น ประชาคมระหว่าง ประเทศก็ไม่สามารถบรรเทาหรือแก้ไขปัญหาของชาวโรฮิงญาได้ แม้ว่าประเทศ แกมเบียในนามรัฐสมาชิก OIC ได้ย่ืนคําาฟ้องต่อศาลโลกในกรุงเฮก โดยกล่าวหาว่า ประเทศเมยี นมาไดล้ ะเมดิ อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และลงโทษความผดิ อาญาฐาน การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุ ซึ่งเมียนมาได้ลงนามเมื่อปี 2491
ด้วยเหตุผลและตัวอย่างท่ียกมาในการวิเคราะห์เชิงกฎหมายและในทาง ปฏิบัติแล้ว ผู้จัดทําาจึงมีความเห็นว่า การใช้คําาอะไรก็ตามเรียกแทนสถานการณ์ใน
1 United Nations, “UN human rights chief points to ‘textbook example of ethnic cleansing’ in Myanmar,” 11 September 2017, news.un.org/en/ story/2017/09/564622-un-human-rights-chief-points-textbook-example-ethnic- cleansing-myanmar
2 บีบีซี ออนไลน์, “โรฮิงญา: ชะตากรรมท่ีไม่แน่นอนของเด็กในค่ายผู้ล้ีภัยใหญ่ที่สุดในโลก,” 3 กันยายน 2020, https:// www.bbc.com/thai/international-54000744
3 Eleanor Albert and Lindsay Maizland, “The Rohingya Crisis,” Council on Foreign Relations, 23 January 2020, https://www.cfr.org/backgrounder/rohingya- crisis
138