Page 149 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 149
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
พน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ไมไ่ ดม้ ผี ลกระทบเชงิ ลบตอ่ อาํา นาจ อธิปไตยของประเทศไทย แต่ในทางกลับกัน การปฏิเสธท่ีจะเรียกสถานการณ์ในพ้ืนท่ี จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่าเป็นความขัดแย้งและเรียกกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐว่าเป็นผู้ก่อ ความไมส่ งบ กลบั กลายเปน็ ประเดน็ ทเี่ รยี กความสนใจเชงิ ลบจากนกั กฎหมายระหวา่ ง ประเทศ นักวิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆ ที่ออกมาโต้แย้งฝ่ายรัฐบาล ไทย4 และวพิ ากษว์ จิ ารณค์ วามพยายามในการกลบเกลอื่ นสภาพความเปน็ จรงิ ในพนื้ ที่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต5้ นอกจากน้ี การทรี่ ฐั บาลไทยใชค้ าํา ตา่ งๆ เรยี กแทนสถานการณ์ และกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย ไม่ได้มีผลทําาให้ตัวแสดง ในประชาคมระหว่างประเทศ เช่น สื่อ องค์กรพัฒนาเอกชน สถาบันคลังสมอง นักวิชาการ รวมทั้งองค์การระหว่างประเทศ มีการใช้คําาดังกล่าวตามทางการไทย
ในการตอบคาํา ถามท่ี 2 ผจู้ ดั ทาํา ไดว้ เิ คราะหถ์ งึ โอกาสทฝ่ี า่ ยทสี่ ามจะยกระดบั ปัญหาไปสู่สากลและแทรกแซงอําานาจอธิปไตยผ่านประสบการณ์ของกรณีอาเจะห์ และมินดาเนา (ในบทที่ 3) จากการวิเคราะห์ จะเห็นได้ว่า รัฐบาลอินโดนีเซียและ ฟลิ ปิ ปนิ สไ์ มไ่ ดม้ คี วามกงั วลตอ่ 1) การเรยี กกลมุ่ ตดิ อาวธุ ตามชอื่ อยา่ งเปน็ ทางการของ กลุ่ม หรือเรียกสถานการณ์ว่าเป็นความขัดแย้ง และ 2) การมีส่วนร่วมของฝ่ายที่ สามในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพ อดีตรองประธานาธิบดีนายยูซุฟ เคลลา ผซู้ งึ่ ผลกั ดนั สนั ตภิ าพในอาเจะห์ ไดต้ อกยาํา้ ถงึ ความจาํา เปน็ ในการแยกแยะระหวา่ ง ประเด็นของการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐกับและการเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม มีส่วนร่วมในกระบวนการสันติภาพ (International Involvement) เพราะการเปิด โอกาสใหฝ้ า่ ยทสี่ ามมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการสนั ตภิ าพจะนาํา ไปสกู่ ารสนบั สนนุ นโยบาย
4 เช่น Redaelli, “Southern Thailand: A Non-International Armed Conflict between the Thai Military and Armed Groups.”
5 Zawacki, “Politically Inconvenient, Legally Correct: A Non-international Armed Conflict in Southern Thailand”; รอมฎอน, “การเมืองของถ้อยคําาในชายแดนใต้/ปาตานี: การประกอบสร้าง “สันติภาพ” ในความขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง”
139