Page 45 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 45

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
การถกเถียงระหว่างกระทรวงการต่างประเทศ และนักกฎหมายระหว่าง ประเทศ รวมทงั้ องคก์ ารพฒั นาเอกชนวา่ พนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ ปน็ NIACs หรอื ไม่สามารถสรุปได้ ดังปรากฏตามตารางดังนี้
ตาราง 2.1 การถกเถียงว่าพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็น NIACs หรือไม่
 ความเห็นของ กระทรวงการต่างประเทศ
   ความเห็นของนักกฎหมายระหว่าง ประเทศและองค์กรพัฒนาเอกชน
   พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตไ้ม่เป็น NIACs เพราะ
  พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเ้ป็น NIACs เพราะ
   1. ไม่มีกลุ่มองค์กรใดประกาศความ รับผิดชอบต่อสถานการณ์และกลุ่ม ผู้เห็นต่างไม่มีลักษณะการจัดตั้งและ โครงสร้างที่ชัดเจน (Organised Insurgent Group)
 1. ฝ่ายกลุ่มติดอาวุธมีลักษณะเป็น องคก์ ร ประกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ยเลก็ ๆ (Cell) ที่มีลักษณะการกระจาย อําานาจสูง และมีศักยภาพในการ วางแผนการประสานและการปฏบิ ตั ิ การทางทหารด้วยยุทธวิธีการต่อสู้ หลากหลายรูปแบบ
   2. ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับปฏิบัติการและ โครงสรา้ งทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ สายบงั คบั บัญชาใดๆ
  2. มีสายการบังคับบัญชา จึงมีความ สามารถในการเจรจาและปฏิบัติตาม ขอ้ ตกลงหยดุ ยงิ แบบจาํา กดั (Limited ceasefire) รวมทั้งการโจมตีแบบ ประสาน (Organised Attack)
   3. ไม่สามารถคุมเขตหรือพื้นที่
   3. หนว่ ยยอ่ ยตา่ งๆ ทาํา หนา้ ทปี่ ระจาํา การ และปฏิบัติการโจมตีกระจายในเขต เมือง ชนบท และตามท้องถนน
  35





















































































   43   44   45   46   47