Page 46 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 46

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ตาราง 2.1 การถกเถียงว่าพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็น NIACs หรือไม่ (ต่อ)
 ความเห็นของ กระทรวงการต่างประเทศ
   ความเห็นของนักกฎหมายระหว่าง ประเทศและองค์กรพัฒนาเอกชน
   4. ลักษณะการก่อเหตุค่อนข้างจําากัด และกระจัดกระจาย รวมทั้งมีความ เกี่ยวข้องกับการเมืองท้องถิ่นและ ความขัดแย้งส่วนตัว
  4. ความขัดแย้งที่มีการใช้กําาลังและ อาวุธมากเกินกว่าระดับของ สถานการณ์ที่ตึงเครียด (Tensions) และความไม่สงบภายใน (Internal Disturbance) อีกทั้งการต่อสู้ยัง ดําาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ เวลานาน โดยกลุ่มติดอาวุมีความ สามารถในการจัดการขนส่งลําาเลียง และกระจายอาวุธ
  แหล่งที่มา: เอกสารของสหประชาชาติ; รอมฎอน 2558; Zawacki 2013; Redaelli 2018; Human Rights Watch 2007; Amnesty International 2011.
จากความเหน็ ของหลายภาคสว่ นซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกบั ความเหน็ ของรฐั บาล ไทยและกระทรวงการต่างประเทศทําาให้มีการใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์ในพ้ืนท่ี จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่าเป็น “ความขัดแย้ง (conflict)” และมีการเรียกกลุ่มผู้เห็น ต่างจากรัฐว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ (insurgents)” อย่างแพร่หลาย จากการ สาํา รวจการใชถ้ อ้ ยคาํา จากฐานขอ้ มลู ขา่ วและบทความทเี่ ปน็ ภาษาองั กฤษพบวา่ การใช้ ถ้อยคําาใหม่ที่รัฐไทยพยายามส่งเสริมอย่างคําาว่า “Perpetrators of Violence” ไม่ใคร่ถูกขานรับจากส่ือมวลชนฉบับภาษาอังกฤษมากนัก เพราะผู้สื่อข่าวคุ้นเคยกับ ถ้อยคําาเดิม อย่าง “Insurgent” หรือ “Militant” มากกว่า ซึ่งสะท้อนความเป็นจริง ที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ดีกว่า ในขณะเดียวกัน เม่ือสําารวจการใช้
36


























































































   44   45   46   47   48