Page 49 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 49
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ในทางตรงกนั ขา้ ม กรณศี กึ ษาของกระบวนการสนั ตภิ าพในอาเจะห์ ประเทศ อินโดนีเซีย และมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ (โปรดพิจารณาได้จากบทท่ี 3) ได้แสดง ใหเ้ หน็ วา่ ผนู้ าํา ทางการเมอื งตง้ั แตร่ ะดบั ประธานาธบิ ดจี นถงึ คณะฝา่ ยเจรจาของรฐั บาล กลับมีการใช้คําาว่า “Conflict” และ “Insurgents” อย่างกว้างขวาง ดังน้ัน การที่ตัว แสดงภายนอกไมไ่ ดด้ าํา เนนิ การแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของประเทศไทย อนิ โดนเี ซยี หรือฟิลิปปินส์ ซ่ึงล้วนมีทัศนคติท่ีแตกต่างกันต่อการใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์และ กลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ไดส้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ “คาํา ” อาจจะไมไ่ ดม้ คี วามสาํา คญั หรอื นาํา้ หนกั เพียงพอท่ีจะส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของประเทศไทยของ ตัวแสดงภายนอก ทั้งท่ีเป็นรัฐหรือตัวแสดงท่ีไม่ใช่รัฐ ในการนี้ เน้ือหาส่วนต่อไปจึงจะ มุ่งเน้นอธิบายถึงข้อจําากัดของตัวแสดงระหว่างประเทศในการบังคับใช้กฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศในทางปฏิบัติจริง
ข้อจําากัดในการบังคับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติ
ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ เม่ือพ้ืนท่ีความขัดแย้งภายในรัฐใดก็ตาม ได้ถูกนิยามว่าเป็น “การขัดกันด้วยอาวุธภายในประเทศ” ตามหลักกฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศ ย่อมนําามาซึ่งการยอมรับจากประชาคมระหว่างประเทศ ถึงการดําารงอยู่ของสถานะของสงครามภายในประเทศ (Internal War) อันหมายถึง ความจําาเป็นที่จะต้องมีการบังคับใช้หลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการ ทําาสงครามในพื้นที่ความขัดแย้งนั้นๆ24 รวมทั้งมีการให้สถานะความเป็น “ผู้ก่อความ ไม่สงบ” ให้เป็น “คู่สงคราม” (Belligerency) ของรัฐ อันมีนัยสําาคัญถึงการยอมรับ สถานะของกลมุ่ ตดิ อาวธุ ในฐานะ “คขู่ ดั แยง้ ทางกฎหมาย” (Legal Contestant) มใิ ช่
24 James E. Bond, The Rules of Riot: International Conflict and the Law of War (Princeton, N.J.: Princeton University Press, 1974), 49.
39