Page 52 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 52
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ในความเปน็ จรงิ แทบไมม่ รี ฐั ใดทตี่ อ้ งการใหก้ ลมุ่ กอ่ ความไมส่ งบไดร้ บั การยอมรบั หรอื ได้รับความชอบธรรม แม้เพียงระดับที่น้อยนิดจากประชาคมระหว่างประเทศ ทว่า ในแงห่ นงึ่ การยอมรบั สถานะความเปน็ คสู่ งครามของกลมุ่ ผกู้ อ่ ความไมส่ งบโดยรฐั อนื่ ๆ อาจเปน็ ประโยชนต์ อ่ รฐั ทเี่ ปน็ คสู่ งครามเอง เพราะเทา่ กบั เปน็ การปลดเปลอื้ งความรบั ผดิ ชอบของรฐั นนั้ ๆ ตอ่ การกระทาํา ในลกั ษณะทอ่ี าจจะมผี ลทางความมนั่ คงตอ่ รฐั อนื่ ๆ29 ดังเช่นการท่ีกลุ่มติดอาวุธในมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้กระทําาการก่อเหตุที่มีผล กระทบต่อความม่ันคงของมาเลเซีย
นอกจากน้ี ประชาคมระหว่างประเทศให้การยอมรับหลักการพื้นฐานของ การเคารพสิทธิในการได้มาซ่ึงดินแดน (Title to Territory) และหลักของความเสมอ ภาคทางดา้ นอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั กลา่ วคอื มเี พยี งรฐั เทา่ นนั้ ทม่ี คี วามชอบธรรมตาม กฎหมายที่จะอ้างสิทธิผูกขาดในการใช้อําานาจ (Jurisdiction) เหนือเขตแดนของตน โดยปราศจากการแทรกแซงจากภายนอกดงั ทม่ี กี ารระบใุ นกฎบตั รสหประชาชาตแิ ละ กฎบัตรอาเซียน อันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ได้รับการยอมรับโดยรัฐทั้งหมดในระบบ ระหวา่งประเทศดงันนั้ หลกัการไมแ่ทรกแซง(thePrincipleofNon-intervention หรือ Non-interference) ในกิจการภายในของรัฐจึงเป็นหน่ึงในหลักการสําาคัญของ กฎหมายระหว่างประเทศรวมท้ังระเบียบภูมิภาค (Regional Order) ในเอเชียตะวัน ออกเฉยี งใต้ และเปน็ หลกั การทสี่ นบั สนนุ ขอ้ หา้ มในการใชก้ าํา ลงั (Non–use of Force) เพราะการแทรกแซงมีนัยของการเป็นภัยคุกคามหรือการใช้กําาลัง อันเป็นการละเมิด ต่อหลักการอําานาจสูงสุดเหนือเขตแดนของรัฐ (Territorial Supremacy of States) และขัดแย้งกับกฎหมายระหว่างประเทศ30
หน้าท่ีของรัฐในการไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐอ่ืนได้ถูกบัญญัติไว้ใน มาตราที่ 1 และ 3 ของร่างปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและหน้าท่ีของรัฐ (Declaration on the Rights and Duties of States) ซึ่งบังคับใช้โดยคณะกรรมาธิการทางด้าน
29 J.L. Bierly, The Law of Nation: Introduction to the International Law of Peace (London: Oxford University Press, 1963), 142–143.
30 Ibid, 38.
42