Page 53 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 53

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
กฎหมายระหวา่ งประเทศขององคก์ ารสหประชาชาตใิ นปี 2492 ทงั้ น้ี มาตรา 2 ยอ่ หนา้ ท่ี 4 และ 7 ของกฎบัตรสหประชาชาติยังได้ระบุห้ามมิให้รัฐสมาชิกกระทําาการ แทรกแซงตอ่ รฐั อนื่ รวมทงั้ เรยี กรอ้ งใหร้ ฐั สมาชกิ ทง้ั หมดละเวน้ จากการคกุ คามหรอื ใช้ กําาลังในลักษณะที่ละเมิดต่อบูรณภาพแห่งดินแดน (Territorial Integrity) หรือความ เป็นอิสระทางการเมืองของรัฐใดๆ แต่กระน้ัน กฎหมายระหว่างประเทศก็ยังอนุญาต ให้รัฐสามารถละเว้นจากการปฏิบัติตามหลักการไม่ใช้กําาลังในสถานการณ์ที่ยกเว้น ดังต่อไปน้ี
1) เหตุผลของการป้องกันตนเอง
2) การสนบั สนนุ และ/หรอื การฟน้ื ฟสู นั ตภิ าพและความมนั่ คงของประชาคม ระหว่างประเทศ ในลักษณะเป็นการแทรกแซงร่วม (Collective Intervention) โดย องคก์ รระดบั รฐั บาลระหวา่ งประเทศ (International Governmental Organisation, IGO) หรือโดยประเทศสมาชิกขององค์กรระดับรัฐบาลระหว่างประเทศในลักษณะท่ี เป็นการดําาเนินการตามข้อมติเฉพาะกิจขององค์กรนั้นๆ
3) การตอบสนองตอ่ สภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา้ นมนษุ ยธรรมทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น โดย เฉพาะสถานการณ์ของการสังหารหมู่ และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
4) การตอบสนองต่อการใช้ความรุนแรงและการเหยียดเชื้อชาติอย่างเป็น ระบบ
5) สถานการณ์ท่ีเกี่ยวเนื่องกับลัทธิล่าอาณานิคมแบบดั้งเดิม
6) การมีสถานภาพของความเป็นคู่สงคราม
แมว้ า่ ขอ้ อธบิ ายในทางกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศบง่ ชถ้ี งึ ทา่ ทขี อง
ประชาคมระหว่างประเทศในการค่อยๆ ลดทอนความสําาคัญของอําานาจสูงสุดในการ ปกครองตนเองโดยอิสระของรัฐ (Sovereign Autonomy of States) แต่กระน้ัน หลักการไม่แทรกแซงและการไม่ใช้กําาลังก็ยังคงเป็นหลักการพื้นฐานท่ีสําาคัญของ กฎหมายระหว่างประเทศ ดังน้ัน ภายใต้บริบทของการตีความกฎหมายระหว่าง ประเทศแบบด้ังเดิม กลุ่มติดอาวุธจึงย่อมไม่มีสิทธิตามกฎหมายในการแสวงหาการ
43
























































































   51   52   53   54   55