Page 20 - รายงานประจำปี2564 ศวก.ที่8อุดรธานี
P. 20
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 19
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
การบริหารจัดการ การตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2 ทางห้องปฏิบัติการ
บุญนิภา สงคราม
ความส าคัญและที่มา
ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ซึ่งห้องปฏิบัติการทางการแพทย์มีบทบาทส้าคัญมากเพื่อช่วยในการค้นหา ยนยันเชื้อที่ก่อโรค และการจะตอบสนองความ
ื
ต้องการของผู้ใช้บริการให้ทันต่อการรักษา ป้องกันและควบคุมโรคได้อย่างดีนั้น ผลการตรวจต้องมีความถูกต้อง แม่นย้า
รวดเร็ว ดังนั้นห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ต้องมีระบบการบริหารจัดการ การประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนใน
องค์กรที่เกี่ยวข้องให้ท้างานประสานกัน จึงจะสามารถรองรับสถานการณ์การระบาดของโรคและการเฝ้าระวังโรคได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผลการตรวจทันตามระยะเวลาที่ก้าหนด และการรายงานผลการตรวจมีระบบควบคุมที่ดี
2. เพื่อให้น้้ายา วัสดุวิทยาศาสตร์ PPE ที่ต้องใช้ในการตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2 มีใช้อย่างเพียงพอ
3. สามารถสืบค้นข้อมูลการตรวจย้อนหลังได้อย่างทันท่วงที
4. มีระบบการจัดการเรียกเก็บค่าตรวจวิเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ
5. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทุกภาคสวนในหน่วยงานมีความปลอดภัยสูงสุด
่
กระบวนการเพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
1. วิเคราะห์ความสามารถของ
ห้องปฏิบัติการทั้งด้านเครื่องมือ บุคลากร
สถานที่
2. วิเคราะห์จ้านวนตัวอย่างที่
ห้องปฏิบัติการในพื้นที่สามารถให้บริการได้
และจ้านวนตัวอย่างที่คาดว่าจะส่งตรวจที่
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี
3. วิเคราะห์กระบวนงานของศูนย์ฯ ที่
มีอยู่ ที่สามารถน้ามาสนับสนุนการ
ด้าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ศึกษาระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง
5. ศึกษาวิธีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่
สื่อออกไปแล้ว สามารถปฏิบัติได้จริง
6. ตรวจสอบความปลอดภัยของ
ห้องปฏิบัติการที่มีอยู่ทั้งหมดให้มีความ
พร้อม