Page 24 - รายงานประจำปี2564 ศวก.ที่8อุดรธานี
P. 24

รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021                    23
                                 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani











            ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ได้จัดท้าโครงการส้ารวจคุณภาพน้้าปลาร้าที่จ้าหน่ายในเขตสุขภาพที่ 8
     โดยสุ่มเก็บตัวอย่างที่วางขายในจังหวัดอุดรธานี หนองคาย หนองบัวล้าภู เลย สกลนคร บึงกาฬ และ นครพนม เพื่อให้
     ทราบสถานการณ์การปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกในน้้าปลาร้า จ้านวน 35 ตัวอย่าง โดยวิธีการสกัดตัวอย่างด้วย

     สารผสมระหว่าง Methanol และ Ammonium acetate Buffer และตกตะกอนด้วยสารละลาย Carrez จากนั้นน้าไป
     วิเคราะห์หาปริมาณด้วยด้วยเครอง High Performance Liquid Chromatography โดยมีการทดสอบคาความเขมขนต่้าสุดที่
                                  ื่
     วิเคราะห์ได้ในตัวอย่างน้้าปลาร้าที่สามารถตรวจวัดได้ (limit of detection : LOD) และคาความเขมขนต่้าสุดที่วิเคราะหไดใน
     น้้าปลาร้าที่สามารถหาปริมาณได้ (limit of quantitation : LOQ) ผลการตรวจวิเคราะห์ พบว่า การตรวจวิเคราะห์ปริมาณ

     กรดเบนโซอิกน้้าปลาร้ามีค่า LOD = 0.58 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม LOQ = 20.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ การตรวจ
     วิเคราะห์ปริมาณกรดซอร์บิกน้้าปลาร้ามีค่า LOD = 0.71 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม LOQ = 2.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ผลการ
     วิเคราะห์ปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกในตัวอย่าง พบว่า ตรวจไม่พบปริมาณกรดเบนโซอิกจ้านวน 2 ตัวอย่าง คิด

     เป็น ร้อยละ 5.71 ตรวจพบปริมาณกรดเบนโซอิก จ้านวน 33 ตัวอย่าง โดยพบในปริมาณน้อยกว่า 20 มิลลิกรัมต่อ
     กิโลกรัม จ้านวน 3 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 9.09 พบปริมาณ 24-925.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จ้านวน 25 ตัวอย่าง
     คิดเป็น ร้อยละ 75.76 พบปริมาณ 1028.6-2532 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จ้านวน 5 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 15.15
     และผลการตรวจวิเคราะห์กรดซอร์บิก พบว่า ตรวจไม่พบกรดซอร์บิก จ้านวน 31 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 88.57 พบกรด

     ซอร์บิก จ้านวน 4 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 11.43 พบกรดซอร์บิกในปริมาณ น้อยกว่า 20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จ้านวน
     1 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 25 ตรวจพบปริมาณ 39.5-285.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จ้านวน 3 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ
     75

                                                  จากการตรวจวิเคราะห์ปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกในตัวอย่าง
                                           น้้าปลาร้าที่จ้าหน่ายในเขตสุขภาพที่ 8 มีการใช้กรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกเป็น
                                           วัตถุกันเสียมากถึงร้อยละ 94.29 จากตัวอย่างที่สุ่มตรวจทั้งหมด และยังตรวจพบ
                                           กรดเบนโซอิกเกินกว่าที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขก้าหนด จ้านวน 5 ตัวอย่าง

                                           เมื่อเทียบกับประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 418 พ.ศ. 2563 อนุญาตให้ใช้
                                           กรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกปริมาณสูงสุดในอาหารหมวดซอสและผลิตภัณฑ์ท้านอง
                                           เดียวกันชนิดละไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและ

                                           คุ้มครองผู้บริโภคในเขตสุขภาพที่ 8 จ้าควรมีการเฝ้าระวังคุณภาพต่อไป
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29