Page 27 - รายงานประจำปี2564 ศวก.ที่8อุดรธานี
P. 27
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 26
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
การควบคุมคุณภาพเครื่องมือแพทย์และตรวจวัดรังส
ี
รุ่งทิพย์ พุฒบุรี, คทายุทธ นิกาพฤกษ์
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 8 อุดรธานี มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 7
จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย หนองบัวล้าภู เลย นครพนม สกลนคร และบึงกาฬ มี
ื่
เครื่องเอกซเรย์รวมถึงเครองมือแพทย์ต่างๆ ทั้งเครื่องเดิมที่มีอยู่แล้ว และเครื่องที่มีการจัดซื้อ
และติดตั้งใหม่ จากผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นี้ งานรังสีและเครื่องมือ
แพทย์ ได้ด้าเนินการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานเครื่องมือแพทย์และตรวจวัดรังสีใน
สถานพยาบาลต่าง ๆ ประกอบด้วย เครื่องเอกซเรย์ประเภทต่างๆ เครื่องอัลตราซาวด์
เครื่องสร้างภาพระบบดิจิทัล และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน รวม
ทั้งสิ้น 535 เครื่อง จากการตรวจสอบพบว่ามีตวอย่างที่ไม่ได้มาตรฐาน จ้านวน 20 เครื่อง
ั
คิดเป็นร้อยละ 3 ซึ่งเครื่องเอกซเรย์ที่ไม่ได้มาตรฐานนั้น ส่วนใหญ่เป็นเครื่องเอกซเรย์มีอายุ
การใช้งานมาก ท้าให้มีการผลิตรังสีและมีการท้างานที่ไม่เหมาะสม การตั้งค่าต่างๆ ไม่
เป็นไปตามที่ก้าหนด นอกจากนี้ศูนย์ฯ ยังได้ตรวจสอบความปลอดภัยของห้องเอกซเรย์
จ้านวน 204 ห้อง พบว่ามีห้องเอกซเรย์ที่ไม่ได้มาตรฐาน จ้านวน 1 ห้อง คิดเป็นร้อยละ
0 โดยห้องเอกซเรยที่ไม่ได้มาตรฐานนั้น เกิดจากประตูห้องเอกซเรย์ และผนังห้องไม่ได้มีการ
์
บุตะกั่วตามที่มาตรฐานก้าหนด เครื่องเอกซเรย์เป็นแหล่งก้าเนิดรังสีเอ็กซ์ที่ให้ทั้งคุณประโยชน์
และโทษ ขึ้นอยู่กับความรู้และความเข้าใจในการใช้งานอย่างถูกต้องของผู้ปฏิบัติงาน และ
เพื่อให้ได้ภาพถ่ายรังสีที่มีคุณภาพดีและเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีในการถ่ายภาพทางรังส ี
น้อยที่สุด เครื่องเอกซเรย์นั้นจ้าเป็นต้องได้รับการตรวจสอบโดยนักฟิสิกส์รังสีเป็นประจ้า
ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือแพทย์และตรวจวัดรังสี
ของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ปีงบประมาณ 2564
250
204 203
200 ทั้งหมด
150
115 115 ได้มาตรฐาน
100 88 85 91 89
71
54 52 58 ไม่ได้มาตรฐาน
50 30 30 24 24 26 26
11 11 10 10 13
3 0 2 0 0 5 5 0 5 5 0 0 2 5 5 0 1
0 0
0