Page 28 - รายงานประจำปี2564 ศวก.ที่8อุดรธานี
P. 28

รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021                    27
                                 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani




            การศึกษาการใช้ซ้ าของชุดขวดเตรียมตัวอย่างปัสสาวะในการตรวจหาปริมาณเมทแอมเฟตามีน


                                                      ละมัย หารินไสล, ชุลีพร จันทรเสนา, อัจจิมา ทองบ่อ



               การตรวจพิสูจน์หาปริมาณเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ ด้วยเทคนิค Headspace-Solid Phase Micro
    Extraction/Gas chromatography-Mass Spectrometry  มีวัสดุ อุปกรณ์ที่จ้าเป็นและมีการล้างน้ากลับมาใช้ซ้้าได้คือ ชุดขวด
    เตรียมตัวอย่างปัสสาวะประกอบด้วยขวดใส่ตัวอย่าง (vial) และฝาเกลียวอลูมิเนียมพร้อม Septum โดยทั่วไปพบว่ามีโอกาสใช้

    ซ้้าได้มากกว่า 3 ครั้งและจะเปลี่ยนทุกครั้งเมื่อช้ารุด ดังนั้น เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้รับบริการ จึงท้าการศึกษาการใช้ซ้้า
    ของชุดขวดเตรียมตัวอย่าง ที่ไม่พบการตกค้างและการรั่วของฝา โดยท้าการเตรียมตัวอย่างควบคุมคุณภาพที่ 3 ระดับความ
    เข้มข้น  คือ QCL 0.767 µg/ml, QCM 2.557 µg/ml และ QCH 4.091 µg/ml ท้าการทดสอบความเข้มข้นละ 7 ซ้้า
    โดยน้าขวดและฝา ที่ใช้เตรียมตัวอย่าง มาล้างท้าความสะอาดตามคู่มือการล้างเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ แล้วน้ามาใช้ซ้้า
    จ้านวน 6 ครั้ง ท้าการทดสอบผลที่ได้เทียบกับ calibration curve แสดงด้วยค่าร้อยละความเบี่ยงเบนของค่าที่วิเคราะห์ได้
    เทียบกับค่าจริง (%RD) ซงเกณฑ์ก้าหนดไม่เกิน ± 15% ผลที่ได้พบว่า การใช้ Septum ซ้้าจ้านวน 6 ครั้งให้ค่า %RD ของ
                            ึ่
    ความเข้มข้นทั้ง 3 ระดับเท่ากับ -11.72 ถึง 6.11 %CV เท่ากับ 1.23 ถึง 8.07 และจากการใช้ซ้้าของขวด 6 ครั้ง มีค่า%
    RD ของความเข้มข้นทั้ง 3 ระดับเท่ากับ -7.97 ถึง 2.55 %CV เท่ากับ 1.33 ถึง 6.21 ซึ่งพบว่าอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้
    เปรียบเทียบความสัมพันธ์และความแตกต่างของข้อมูลด้วย ANOVA พบว่า การใช้งาน ขวด Vial ซ้้าและฝาเกลียวพร้อม
    septum ซ้้า 3 ครั้ง ทั้ง 3 ระดับความเข้มข้น มีค่า P-value มากกว่า 0.05 แสดงว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญที่

    ความเชื่อมั่น 95% ผลจากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่า ชุดขวดเตรียมตัวอย่าง (Vial) และ Septum ที่น้ากลับมาใช้ซ้้าได้ 3 ครั้ง
    ไม่พบสารตกค้างและปนเปื้อนในชุดขวดตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่า วิธีปฎิบัติการล้างท้าความสะอาดและเก็บบ้ารุงรักษาของ
    ห้องปฎิบัติการมีมาตรฐาน สามารถถ่ายทอดต่อกันได้ และลดต้นทุนต่อหน่วยในการตรวจวิเคราะห์
    ความเป็นมาและความส าคัญ

               จากกระบวนการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ งานวัตถุเสพติด ได้ตระหนักถึงคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ จึง
    ท้าการศึกษาการใช้ซ้้าของชุดเตรียมตัวอย่าง และวิธีการล้างเครื่องแก้วมีความส้าคัญกับผลการตรวจวิเคราะห์ เพื่อแสดงความ
    เชื่อมั่นต่อขบวนการและผลการตรวจวิเคราะห์
    วัตถุประสงค์
         ทดสอบการใช้ซ้้าของชุดขวดเตรยมตัวอย่างสารเสพติดในปัสสาวะ
                                       ี
    วิธีด าเนินการ
             1. การท้าความสะอาดชุดขวดการเตรียมตัวอย่าง ประกอบด้วยขวดแก้วใส (vial) ขนาด 20 ml และฝาเกลียว
    อลูมิเนียมพร้อม Septum หลังการตรวจวิเคราะห์ น้าไปล้างท้าความสะอาดตาม SOP 42 07 003 การจัดการวัสดุ
    วิทยาศาสตร์ โดยแกะแยกขวดและฝา กลั้วล้างด้วยน้้าเปล่า จากนั้นน้าไปแช่ในน้้ายาล้างจาน แล้วล้างด้วยน้้ายาล้างจาน อีก
    รอบพร้อมกับใช้แปรงขดเบาๆ ล้างให้สะอาดด้วยน้้าเปล่าสองครั้ง ล้างน้้ากลั่นหนึ่งครั้ง และกลั้วล้างด้วยแอลกอฮอล์ น้าไปอบ
                         ั
    ให้แห้งที่อุณหภูมิ 60 ºC อย่างน้อย 30 นาที ปล่อยให้เย็นแล้วท้าการแยกเก็บเป็นชุด ๆ ในถุงพลาสติก เพื่อน้ามาใช้ในการ
    ทดสอบ
                 2. การทดสอบการใช้ซ้้าของชุดขวดเตรียมตัวอย่าง น้าชุดขวดที่ผ่านการล้างมาเตรียมตัวอย่างควบคุมคุณภาพที่
    3 ระดับความเข้มข้น คือ QCL 0.767 µg/ml, QCM 2.557 µg/ml และ QCH 4.091 µg/ml ท้าการทดสอบความเข้มข้น
    ละ 7 ซ้้า พร้อมตรวจสอบการตกค้างของสารรบกวนของขวดเปล่า (Blank sample)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33