Page 29 - รายงานประจำปี2564 ศวก.ที่8อุดรธานี
P. 29
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 28
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
3. น้าไปตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิค HS-SPME/GC-MS ค้านวณค่าความเข้มข้นของสารที่วิเคราะห์ในแต่ละระดับ
ความเข้มข้นเทียบกับ calibration curve
ผลการทดสอบ
ตารางที่1 แสดงผลค่า %RD และ %CV การทดสอบการใช้ ขวด Vial ซ้้าและฝาเกลียวพร้อม septum ในการทดสอบ
ตัวอย่างควบคุม
ระดับความ จ านวน ขวด Vial ฝาเกลียวพร้อม septum
เข้มข้น การใช้ซ้ า
(µg/ml) Mean SD %CV %RD Mean SD %CV %RD
1 0.732 0.030 4.10 -4.60 0.732 0.030 4.10 -4.60
2 0.732 0.013 1.76 -4.60 0.724 0.024 3.31 -5.64
0.767 3 0.733 0.030 4.03 -4.45 0.740 0.021 2.87 -3.56
4 0.706 0.010 1.41 -7.97 0.700 0.014 2.04 -8.72
5 0.732 0.015 2.08 -4.62 0.714 0.017 2.43 -6.89
6 0.714 0.017 2.33 -6.95 0.677 0.029 4.35 -11.72
1 2.482 0.076 3.05 -2.94 2.482 0.076 3.05 -2.94
2 2.495 0.155 6.21 -2.44 2.419 0.116 4.81 -5.40
2.557 3 2.493 0.119 4.76 -2.52 2.436 0.197 8.07 -4.73
4 2.591 0.159 6.13 1.31 2.330 0.058 2.48 -8.86
5 2.377 0.032 1.33 -7.03 2.388 0.029 1.23 -6.63
6 2.525 0.106 4.20 -1.26 2.478 0.192 7.73 -3.10
1 4.195 0.222 5.28 2.55 4.195 0.222 5.28 2.55
2 3.965 0.104 2.63 -3.07 3.991 0.133 3.34 -2.45
3 4.106 0.084 2.05 0.36 3.985 0.189 4.75 -2.59
4.091
4 4.027 0.122 3.02 -1.56 4.079 0.165 4.06 -0.29
5 4.078 0.092 2.26 -0.33 4.221 0.070 1.66 3.17
6 4.163 0.175 4.20 1.76 4.341 0.243 5.60 6.11
ซึ่งเมื่อน้าข้อมูลมาท้าผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์และความแตกต่างของข้อมูลโดยวิธี Repeated Measurement
ั้
ANOVA โดยถือค่านัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 พบว่า การใช้งาน ขวด Vial ซ้้าและฝาเกลียวพร้อม septum ซ้้า 3 ครง
ทั้ง 3 ระดับความเข้มข้นให้ค่า Fcalculate น้อยกว่า Fcritical และให้ค่า P-value มากกว่า 0.05 แสดงว่าไม่มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญที่ความเชื่อมั่น 95% ในขณะที่การใช้งานซ้้าครั้งที่ 4-6 ให้ค่า P-value น้อยกว่า 0.05 แสดงถึง
ความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญ
สรุปและวิจารณ์ผล
การศึกษาการใช้ช้้าชุดขวดเตรียมตัวอย่างส้าหรับตรวจหาปริมาณสารเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ ดวย
้
เทคนิค Headspace-Solid Phase Micro Extraction/Gas chromatography-Mass Spectrometry แสดงให้เห็นถึงคุณภาพ
ของกระบวนการตรวจพิสูจน์ที่ถูกต้อง ปราศจากการปนเปื้อนจากปัจจัยภายนอก ตั้งแต่การเปิดใช้ครั้งแรก จนถึงวิธีการล้าง
และน้ากลับมาใช้ซ้้าได้มากที่สุดที่ไม่มีการตกค้าง จึงก้าหนดการทดสอบครอบคลุมความเป็นไปได้ของการน้ามาใช้ ซึ่งในการ
ปฏิบัติงานได้ 3 ครั้ง แสดงว่าวิธีการล้างของห้องปฎิบัติการ มีความเหมาะสมในการน้าชุดเตรียมตัวอย่างกลับมาใช้ในการ
ตรวจวิเคราะห์หาเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ ในงานประจ้าไม่มีการปนเปื้อนของสารเสพติด เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ