Page 175 - Advande_Management_Ebook
P. 175

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                              173



             ประกอบการแบบยั่งยืน (Sustainable Entrepreneur: SE) จะท�าให้เกิดความยั่งยืน
             ตลอดไป และในหลักสากลตลาดทุนซึ่งเป็นหนึ่งในธุรกิจทั่วโลกที่ด�าเนินการกิจการ

             เกี่ยวกับเรื่องการระดมทุนจากบริษัทที่เข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของทุก
             มุมโลกก็มุ่งเน้นในถึงกิจการ SE ดังกล่าว เพื่อให้ธุรกิจขนาดใหญ่ได้กลับมาตระหนัก
             และให้ความสนใจต่อ 3P มากขึ้น เพื่อที่จะท�าให้โลกนี้อยู่ได้แบบยั่งยืนและยาวนาน

             นอกจากนั้นแล้ว ในหลักการนี้ประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนยังได้น�ามา
             ใช้และน้อมน�าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล

             อดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 มาใช้เป็นแนวคิดในการบริหารจัดการรายละเอียด ภาพ
             ประกอบ 22
                    สรุปได้ว่า ภายใต้รับประกันคุณภาพแนวคิดหลักการประสิทธิภาพและ

             ประสิทธิผล เช่น หลักความรับผิดชอบ (Accountability) หลักการตอบสนอง
             (Responsiveness) หลักการมีส่วนร่วม  (Participation) ความรับผิดชอบต่อสังคม

             (Corporate Social Resiponsibity) หลักคุณธรรมและจริยธรรม(Moral&Ethics)
             หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงอันเป็นศาสตร์
             พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนเหล่านี้ การบริหารการจัดการแบบอย่างยั่งยืนนั้นจึง

             ไม่ใช่เป็นเรื่องของประเทศใดประเทศหนึ่งแต่เป็นเรื่องของคนทั้งโลกทุกประเทศ จะ
             ต้องให้ความสนใจและร่วมมือกันสร้างองค์กร ระบบ คนในแนวทางที่จะให้เกิดความ

             ยั่งยืนด้วยการหลีกเลี่ยงการท�าลายล้าง ทรัพยากรธรรมชาติการละเมิดสิทธิของมนุษย
             ชนในสังคมสนใจความยากจนและการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล�้า ตลอดจนการ
             ให้การศึกษาแก่ชุมชนสังคมรอบข้างของสถานที่ประกอบการโดย เฉพาะอย่างยิ่งผล

             ก�าไรที่คาดว่าจะได้รับสูงสุดนั้น การด�าเนินการทางธุรกิจของแต่ละองค์กรจะต้อง
             ให้ความสนใจในการก�ากับการที่ดีมีธรรมาภิบาล มีความรับผิดชอบในการร่วมมือต่อ

             สังคม และไม่สร้างกระบวนการคอรัปชั่น รวมทั้งการร่วมมือในการต่อต้านมิให้เกิด
             ความเสียหายอันเกิดขึ้นในองค์กร แนวคิดนี้ได้ถูกเปลี่ยนเป็นการแบ่งปันและลดก�าไร
             ที่อันเป็นผลจากการประกอบการอย่างสูงสุดลงเหลืออย่างพอเพียง โดยค�านึงถึง

             สิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และการก�ากับการที่ดี (Governance)
             และทั้งสามสิ่งนี้ในองค์กรระหว่างชาติในตลาดหลักทรัพย์ของโลกหลายแห่งยังได้

             น�าไปเป็นปัจจัยตัวชี้วัดที่ส�าคัญในการวัดค่าของการบริหารจัดการองค์กรในยุค
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180