Page 204 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 204
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
190 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
สถานการณ์อุตสาหกรรมยาในประเทศเช่นนี้ทั้งยาชีวภาพ และยาเคมี สะท้อนถึงปัญหาการเข้าถึงยา
และความมั่นคงทางยาที่จะเกิดขึ้นในระบบสุขภาพในอนาคต การมี หรือไม่มียา (drug supply) เพื่อตอบสนอง
ความต้องการทางสุขภาพของคนในประเทศขึ้นกับต่างชาติ ราคายา มูลค่าใช้จ่ายด้านยาถูกก าหนดโดยต่างชาติ
การเข้าถึงยาที่ล่าช้าเนื่องจากเป็นประเทศขนาดเล็ก มีก าลังซื้อน้อย จึงมีความส าคัญเป็นล าดับหลังของผู้ผลิต
ต่างชาติ นอกจากนี้เราจะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะผลิตภัณฑ์ยาที่มีระดับเทคโนโลยี หรือรูปแบบที่ต่างชาติท าได้
เท่านั้น และความไม่สามารถพึ่งพาตนเองด้านยาได้นี้จะถูกน าไปเป็นประเด็นต่อรองในข้อตกลงระหว่าง
ประเทศที่มีน ้าหนักมากขึ้นในอนาคต
2. สถานการณ์หากมีการด าเนินการตามข้อเสนอนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยาภายในประเทศ
จากผลการจ าลองสถานการณ์ของอุตสาหกรรมยาด้วยแบบจ าลองพลวัตรระบบในสถานการณ์ BAU
แสดงให้เห็นว่าหากปล่อยให้สถานการณ์ของตลาดยา รวมทั้งนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด าเนินต่อไปตามที่
ด ารงอยู่ จะท าให้ระบบสุขภาพของประเทศต้องพึ่งพาการน าเข้าด้านยามากขึ้นทั้งยาชีวภาพ และยาเคมี ส่งผล
กระทบทางลบต่อการเข้าถึงยา และความมั่นคงทางยาของประเทศอย่างมากในอนาคต
ประเทศจึงต้องมีนโยบายพัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมยาในประเทศอย่างเป็นระบบ ครบวงจรใน
ฐานะเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศ ด้วยภาวะสุขภาพที่ดีของคนในประเทศเป็นปัจจัยส าคัญ
ของผลิตภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ระบบสุขภาพที่มีความมั่นคงทางยาสูงจึงเป็นรากฐานส าคัญส าหรับ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้หากมีการส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศอย่างเป็นระบบทั้ง
การเพิ่มระดับความสามารถในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีระดับเทคโนโลยีที่สูงขึ้น (complexity) และ
การเพิ่มขนาดมูลค่าของอุตสาหกรรมยา (scale) ให้สูงขึ้น จะกลายเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กับ
ประเทศโดยตรง เช่นที่ประเทศเกาหลีซึ่งสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม ขนาดของประเทศ และสถานการณ์
อุตสาหกรรมยาภายในประเทศ ไม่แตกต่างจากประเทศไทยในขณะนี้มากนัก ในขณะที่เริ่มต้นนโยบายส่งเสริม
อุตสาหกรรมยาอย่างจริงจัง จนมีอุตสาหกรรมยาในประเทศที่แข็งแกร่งได้ในปัจจุบัน
การจ าลองสถานการณ์ในส่วนนี้ใช้โครงสร้างแบบจ าลองเดิมในสถานการณ์ BAU โดยปรับเปลี่ยน
ิ่
โครงสร้างบางส่วนที่เป็น policy entry point ที่ยังไม่มีในโครงสร้างเดิมเพมเติม เช่น การเพิ่มเงินลงทุนในการ
วิจัย และพัฒนาระหว่างภาครัฐ และผู้ผลิต เพอเกิดผลิตภัณฑ์ที่มีระดับของเทคโนโลยีที่สูงขึ้น เกิดเป็นมูลค่า
ื่
ทางการตลาดที่สูงขึ้น approach ในการจ าลองสถานการณ์ในขั้นตอนนี้วัตถุประสงค์เพอให้ได้ค่าเป้าหมายของ
ื่
ั
นโยบายส่งเสริม และพฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศเพื่อให้ได้สถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตยาใน
ประเทศที่ต้องการ ไม่ได้เป็นการจ าลองผลกระทบของนโยบายฯ ที่มีต่ออุตสาหกรรม การจ าลองสถานกาณ์จึง
เริ่มจากการก าหนดคุณลักษณะเป้าหมายของอุตสาหกรรมผลิตยาภายในประเทศที่ต้องการ ก าหนดตัวแปรที่
จะได้รับผลกระทบจากนโยบายพัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมยา (policy entry point) ในแบบจ าลอง แล้ว
จ าลองสถานการณ์โดยการปรับเปลี่ยนค่าของตัวแปรที่เป็น entry points ต่าง ๆ จนกว่าจะได้สถานการณ์ของ