Page 205 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 205
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 191
อุตสาหกรรมยาที่ต้องการ น าค่าของตัวแปรที่ได้เสนอเป็นค่าเป้าหมายส าหรับข้อเสนอนโยบายพัฒนา และ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมยา
- สถานการณ์อุตสาหกรรมยาภายในประเทศที่พึงประสงค์ ในปี 2590
ทีมนักวิจัยน าข้อมูลที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยาของประเทศเกาหลี
ร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้ผลิตยาภายในประเทศถงความเป็นไปได้ น ามาก าหนดเป็นคุณลักษณะของอุตสาหกรรม
ึ
ยาภายในประเทศที่พึงประสงค์ เพื่อน าไปจ าลองสถานการณ์ในแบบจ าลองพลวัตรระบบ ดังนี้
1) ค่อยๆ ขยายตลาดส่งออกจนเป็น 60% ของยอดขายในปี 2590
2) ค่าใช้จ่ายด้านยาในประเทศ ต้องไม่สูงกว่าสถานการณ์ BAU
3) Import dependency ratio ลดลงเข้าใกล้ 50% ในปี 2590
้
- นโยบาย และตัวแปรสะทอนผลกระทบของนโยบายในแบบจ าลอง
ข้อเสนอนโยบายการพัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมยาภายในประเทศในการวิจัยนี้สามารถแบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก ่
1) กลุ่มนโยบายส่งเสริมศักยภาพการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาที่มีระดับของเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
ิ่
(Enhancing complexity) เช่น การสนับสนุนเงินทุน ความร่วมมือส าหรับการวิจัย และพัฒนา การเพม
ศักยภาพของทรัพยากรบุคคล การจัดให้มีช่องทาง ระบบข้อมูลสนับสนุน ให้เกิดการเข้าถึงบริการที่เป็น eco-
system เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สามารถวางตลาดได้ ตลอดไปจนถึงการจัดการความไม่สอดคล้องกันของกฎหมาย
ข้อก าหนด และมาตรฐานต่างๆ เป็นต้น
ตัวแปรในแบบจ าลองที่เป็น entry points ส าหรับนโยบายเพิ่มศักยภาพการวิจัย และพัฒนา ได้แก่
การเพิ่มเงินลงทุนในการวิจัยและพัฒนาจนเป็นผลิตภัณฑ์ที่วางตลาดได้ มูลค่าเพิ่มทางการตลาดที่เกิดจาก
ผลิตภัณฑ์ที่มีระดับของเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ความสามารถในการแทนที่ผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบที่หมดอายุสิทธิบัตร
โดยผลิตภัณฑ์ยาที่ผลิตโดยผู้ผลิตในประเทศทั้งในแง่ของสัดส่วนมูลค่าที่แทนที่ได้ และความรวดเร็วในการ
แทนที่
2) กลุ่มนโยบายเพื่อขยายตลาดเพิ่มมูลค่าของอุตสาหกรรมยาในประเทศ (Increasing Scale) เช่น
ิ่
การส่งเสริมตลาดส่งออกในทุกมิติทั้งการเพมความสามารถในการแขงขันจากการชดเชยเงินทุนวิจัยและพฒนา
่
ั
ื่
บางส่วนโดยรัฐ เพอให้อุตสาหกรรมยาสามารถตั้งราคาขายที่สามารถแข่งขันในตลาดได้ การเพิ่มศักยภาพของ
ทรัพยากรบุคคล ระบบข้อมูลสนับสนุน ตลอดไปจนถึงการเจรจาความร่วมมือเพื่อลด entry barrier ในเชิง
มาตรฐาน และกฎระเบียบที่ประเทศปลายทาง เป็นต้น ส าหรับตลาดในประเทศ นโยบายการเพิ่มมูลค่าตลาด
ได้แก่ การปรับปรุงมาตรฐาน กฎระเบียบให้เท่าเทียมกันระหว่างผลิตภัณฑ์ยาสามัญน าเข้า และที่ผลิตใน
ประเทศ การจัดการความไม่สอดคล้องของนโยบายที่ต าแหน่งต่าง ๆ ตลอด supply chain และการปรับ
บทบาทขององค์การเภสัชกรรม