Page 206 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 206
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
192 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
ิ่
ตัวแปรในแบบจ าลองที่เป็น entry points ส าหรับนโยบายเพมขนาดของตลาดอุตสาหกรรมยาใน
ประเทศ ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าส่งออก การเพิ่มขึ้นขนาดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์ยาสามัญที่ผลิตใน
ประเทศ และการลดลงของส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์ยาสามัญน าเข้า การเพิ่มขึ้นของอัตราการเติบโตของ
ตลาดผลิตภัณฑ์ยาสามัญในประเทศ และการลดลงของอัตราการเติบโตของตลาดผลิตภัณฑ์ยาสามัญน าเข้า
้
- ผลการจ าลองสถานการณ์เพื่อหาค่าเป้าหมายของขอเสนอนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมยา
ผู้วิจัยได้จ าลองขนาดของผลกระทบของนโยบายที่ตัวแปร entry points ที่ค่าต่าง ๆ จนได้
สถานการณ์ที่พึงประสงค์ ผลการจ าลองสถานการณ์ได้ค่าเป้าหมายของการด าเนินนโยบายพัฒนา และส่งเสริม
อุตสาหกรรมยาในประเทศดังนี้
1) กลุ่มนโยบายเพิ่มศักยภาพในการวิจัย และพัฒนา ควรด าเนินการให้ได้ค่าเป้าหมายดังนี้
เพื่อให้เกิดสถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศที่พึงประสงค์
- รูปแบบการลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการวิจัย และพัฒนา เพื่อให้มีการออกสู่ตลาดของ
ผลิตภัณฑ์ที่มีระดับของเทคโนโลยีที่สูงขึ้น รูปแบบการลงทุนมีลักษณะเป็นการลงทุนร่วมกนของอุตสาหกรรม
ั
ยาในประเทศ และมูลค่าการสนับสนุนจากรัฐบาล ดังแสดงในตารางที่ 30
ตารางที่ 30 ข้อเสนอรูปแบบการลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการวิจัย และพัฒนาของอุตสาหกรรมยา
อุตสาหกรรมยา การลงทุนโดยอุตสาหกรรม การสนับสนุนจากรัฐบาล
Biologics เริ่มต้นที่ 50% ของมูลค่าตลาด และ สนับสนุน 5,000 ล้านบาท เป็นเวลา 16
มีการอัตราเพิ่มขึ้น 15% ต่อปี ปี (จนถึงปี 2578)
ั
Chemicals 5% ของมูลค่าตลาด และมีอตราการ จ่ายคืนเป็นมูลค่าครึ่งหนึ่งของเงินลงทุน
เพิ่มขึ้น 15% ต่อปี เมื่อผลิตภัณฑ์วางตลาดเป็นเวลา 12 ปี
ื่
(จนถึงปี 2574) เพอเพิ่มความสามารถใน
การแข่งขันของผลิตภัณฑ์ยาสามัญที่ผลิต
ในประเทศ
ด้วยรูปแบบการลงทุนของอุตสาหกรรมผลิตยาภายในประเทศ ร่วมกับการสนับสนุนจากรัฐข้างต้นจะ
ท าให้ในปี 2590 อุตสาหกรรมยา biologic จะมีมูลค่าเงินลงทุนในการวิจัย และพัฒนา รวมเป็น 23.3 พนล้าน
ั
บาท จากมูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมยาเอง (คิดเป็น 7.3% ของมูลค่าตลาดในปี 2590) โดยที่ไม่ต้องมีการ
สนับสนุนจากรัฐ เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมยาเคมี จะมีมูลค่าเงินลงทุนในการวิจัยและพัฒนาในปี 2590 รวม
เป็น 50.1 พันล้านบาท (คิดเป็น 6.9% ของมูลค่าตลาดในปี 2590) โดยไม่ต้องมีการสนับสนุนจากรัฐ