Page 211 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 211
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 197
สถานการณ์ BAU ซึ่งส่งผลให้อัตราส่วนการพึ่งพาการน าเข้าลดลงเป็น 53% เทียบกับสถานการณ์ BAU ที่
ึ้
ุ
ึ่
อัตราส่วนการพงพาการน าเข้าจะเพมขนเป็น 76% ในปี 2590 มูลค่าตลาดของอตสาหกรรมยาเคมีในประเทศ
ิ่
เพิ่มสูงขึ้นถึง 10 เท่าจากปัจจุบัน และ 60% ของมูลค่าอุตสาหกรรมเกิดจากการส่งออกผลิตภัณฑ์ยา
หากประเทศไทยมีการด าเนินนโยบายส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมยาอย่างเป็นระบบครบวงจร
และบรรลุเป้าหมายตามข้อเสนอในฐานะอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ที่นอกจากจะเป็นรากฐานส าคัญของความ
มั่นคงของระบบสุขภาพแล้ว ในปี 2590 อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศจะเป็นอุตสาหกรรมที่สามารถสร้าง
รายได้ให้กับประเทศจากมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการขยายการลงทุน และการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาที่ผลิต
ภายในประเทศซึ่งมีมูลค่ารวม 708,106 ล้านบาท คิดเป็น 2% ของ GDP ในปี 2590 (ประมาณการณ์จาก
100
มูลค่า GDP ปี 2562 มีอัตราเพิ่มขึ้น 3.6% ต่อปี )
ิ
เมื่อพจารณาในภาพของแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลา 30 ปี มูลค่าของอุตสาหกรรมการผลิต
ยาเคมี (Local market size) ในประเทศจะค่อยๆ เพิ่มสูงขึ้นในช่วงแรก และเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดหลังปี
2576 ทั้งนี้มูลค่าส่วนใหญ่ที่ผลักดันให้อุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศเพิ่มขึ้น คือมูลค่าส่งออก (Export)
ในขณะที่มูลค่ากรผลิตเพื่อบริโภคในประเทศจะไม่ใช่มูลค่าหลักของขนาดอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศ
แตกต่างจากสถานการณ์ BAU ที่มูลค่าการผลิตยาเกือบทั้งหมดเป็นมูลค่าการผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ ดัง
แสดงในภาพที่ 64
ภาพที่ 64 แสดงแนวโน้มมูลค่าของอุตสาหกรรมผลิตยาเคมีในประเทศ มูลค่าการผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ
และมูลค่าการส่งออก เปรียบเทียบกับระหว่างสถานการณ์ที่มีนโนบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยา และ BAU
100 Long-term projections of Asian GDP and trade—November 2011 Mandaluyong City, Philippines: Asian
Development Bank, 2011.