Page 214 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 214

Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
          200      development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP


                              3.2    ประเมินผลกระทบต่ออตสาหกรรมยาภายในประเทศ ทั้งในสถานการณ์ฐาน
                                                        ุ
                                     (based case) และสถานการณ์ทางเลือกเชิงนโยบาย โดยใช้แบบจ าลอง systems

                                     dynamic โดยมีขั้นตอนหลักๆ คือ การออกแบบโครงสร้างโมเดล การพัฒนาโมเดล

                                     และการทดสอบโมเดล และการจ าลองสถานการณ์ส าหรับทางเลือกนโยบายต่างๆ

                       ระยะที่ 4 จัดท าข้อเสนอเชิงนโยบาย


                       ผลการวิจัยสรุปเป็น 4 ส่วน ได้แก  ่


                       1. สถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศไทย พบว่าแนวโน้มมูลค่าการผลิตและน าเข้ายาสูงขึ้น

               อย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2538 สัดส่วนมูลค่าการผลิตยาในประเทศมากกว่าการน าเข้า คิดเป็นประมาณ 65:35

               จนกระทั่งปี พ.ศ. 2558 สัดส่วนดังกล่าวได้สลับด้านอย่างสมบูรณ์เป็น 35:65 สะท้อนแนวโน้มความมั่นคงด้าน

               ยาที่ลดลงในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา เมื่อประเมินความพร้อมของอุตสาหกรรมยาในประเทศไทยและ
               พิจารณาศักยภาพของผู้ผลิต น าเข้ายา ด้วยดัชนีการประเมินความพร้อมของอุตสาหกรรมการผลิตยาสามารถ

               แบ่งบริษัทยาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่


                              1) สิงห์โต เป็นกลุ่มบริษัทที่มีศักยภาพในการวิจัย พัฒนา สูง และมียอดขายในกลุ่มสูงสุดของ

               ประเทศ


                              2) แพนด้า เป็นบริษัทที่อยู่ในกลุ่มนี้น่าจะเป็นบริษัทน าเข้าหรือผลิตยา ต้นแบบหรือยาสามัญ
               เป็นหลัก และจ าหน่ายยาสามัญใหม่ที่มียอดขายสูง


                              3) โคอะล่า เป็นกลุ่มบริษัทที่มีสัดส่วนการผลิตยาสามัญใหม่ต ่ากว่า 50% ในขณะที่ยอดขาย

               ยังขึ้นกับยาสามัญเป็นหลัก


                              4) แร็คคูน เป็นกลุ่มบริษัทที่น าเข้ายาสามัญใหม่เป็นหลัก แต่ส่วนใหญ่ยอดขายยาสามัญใหม่

               ไม่สูงมาก


                       2. ความไม่สอดคล้องของนโยบายด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยา การน าเข้าและถ่ายทอด
               เทคโนโลยีการผลิต การสนับสนุนการลงทุน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลต่อความพร้อมในการพัฒนา

               อุตสาหกรรมยา จากนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาอุตสาหกรรมยาในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ที่น าไปสู่การ

               ปฏิบัติในรูปแบบต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ BOI กระทรวงสาธารณสุข องค์การอาหารและยา

               (FDA) หรือหน่วยงานอื่น ๆ ในภาครัฐ ทีมวิจัยเสนอชุดนโยบายเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ

                                                                                                    ื่
               แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ชุดนโยบายเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยี (complexity) และ ชุดนโยบายเพอขยาย
               ตลาด (scale) โดยมีเป้าหมายนโยบาย เพื่อให้ “อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศเป็นอุตสาหกรรมหลัก ที่สร้าง
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219