Page 44 - รายงานประจำปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2566
P. 44

การพัฒนาอาจารย์                                 ทั้งนี้มหาวิทยาลัยฯ ได้มีการส่งเสริมให้อาจารย์

                         มหาวิทยาลัยได้กำหนดมาตรฐานของการพัฒนา   ได้ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการหรือ
                                                                 แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม/ชุมชน จำนวน
                อาจารย์อย่างมืออาชีพ เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับ
                                                                 295 คน จากอาจารย์ทั้งหมด 972 คน คิดเป็นร้อยละ 30.35
                การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ จัดทำ
                 แผนการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบรายปีแก่คณาจารย์ที่มี  โดยมีรายละเอียดอาจารย์ที่ไปร่วมแต่ละภาคส่วนดังนี้

                 ความสนใจให้ครอบคลุมในทุกมิติกิจกรรม ทั้งการออกแบบ

                 หลักสูตร/รายวิชาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ การออกแบบ
                 หลักสูตร Active Learning ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อพัฒนา

                 อาจารย์ให้มีความรู้และทักษะในกระบวนการจัด

                การเรียนการสอนด้วยเทคนิค Finland Model ,CDIO,

                STEM, Meister Model และ Innovative Teaching Model

                เป็นต้น การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัด

                การเรียนการสอน บูรณาการการจัดการเรียนการสอนกัน

                ข้ามศาสตร์ระหว่างสาขาหรือคณะ ออกแบบรายวิชาให้มี

                การต่อยอดการทำ Project แบบข้ามศาสตร์ พัฒนา

                ต้นแบบพี่เลี้ยงในการพัฒนาอาจารย์และส่งเสริมขวัญ

                กำลังใจให้กับอาจารย์ให้เกิดการพัฒนาอย่างมืออาชพ         นอกจากนี้ยังอาจารย์ได้รับรางวัลระดับชาติ
                                                          ี
                 รวมถึงการจัดหาช่องทาง และสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อให้  และนานาชาติ จำนวน 55 รางวัล โดยอาจารย์ที่ไปร่วม

                 อาจารย์สามารถพัฒนาผลงานการสอนได้อย่างมี         แต่ละภาคส่วนซึ่งมีตัวอย่างผลงานที่สำคัญดังนี้
                 ประสิทธิภาพ และนำไปต่อยอดผลงานทางวิชาการได้            1. ผศ.ดร.สุมนมาลย์ เนียมหลาง ผลงาน

                        เพื่อการดำเนินการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์    การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะกำลังคนใน

                 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจึงได้ดำเนินการ   อุตสาหกรรมพลาสติก รางวัล บทความวิจัยดีเด่นประจำ

                 จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "การส่งเสริมคุณภาพ   กลุ่ม Industrial Education (IED)
                 การจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ มทร.ธัญบุรี" โดยมี      2. ผศ.ดร.กรวินทร์วิชญ์ บุญพิสุทธิ์นันท์

                วัตถุประสงค์โครงการเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจกรอบ  ผลงาน INNOVATIVE ANTI-AGEING COSMETICS FROM

                มาตรฐานวิชาชีพ เพื่อพัฒนาอาจารย์ให้มีสมรรถนะ     POT-ORANGES JAPANESE BABY MELON (ITAP) รางวัล

                ด้านการเรียนการสอนตามมาตรฐาน PSF/UKPSF และพัฒนา  PLATINUM AWARD และ ผลงาน Whitening Cosmetics

                อาจารย์ให้มีคุณภาพด้านการเรียนการสอนสู่มาตรฐาน   from pineapple peel and lime juice extracts (ITAP)

                ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย ระดับชาติและนานาชาติ      รางวัล GOLD AWARD

                ซึ่งโครงการดังกล่าวเป็นไปในลักษณะของการประเมินตนเอง      3. อาจารย์อนันท์พร  เอี่ยมชาญบรรจง  ผลงาน
                 ตามเกณฑ์ สกอ.ในเบื้องต้น และผลการประเมินตนเอง   Symposium  On  Creative  Fine  Arts  (ISCFA)  2022

                 ผ่านการอบรมจากต่างประเทศ                        รางวัล Gold Prize Creative Composition


                           รายงานประจำปี 2565
        42
                           Annual Report 2022
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49