Page 104 - BBLP ejournal2018.docx
P. 104

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



                     mouth =        เดือน 1 -12

                     status =       สถานะของแม่แพะ (แพะสาว และแพะนาง)

                     buck   =       สายพันธุ์ของพ่อพันธุ์ (พันธุ์อัลไพน์, แองโกลนูเปียน, บอร์, คาลาฮารีเรด, ซาแนน

                                    และท๊อกเกนเบิร์ก)

                     estrus =       การเป็นสัด (เป็นสัดตามธรรมชาติ และการเหนี่ยวน าการเป็นสัด)

                     BCS  =         คะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย (ผอม =2, พอดี =3, และอ้วน =4)

                     dept  =        ระดับความลึกของการสอดปืนฉีดน ้าเชื้อเข้าไปในคอมดลูก

                                    (< 1.5, 1.5 – 3, และ> 3 เซ็นติเมตร)

                     year  =        ปีที่ท าการผสมเทียม 2010, 2011, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, และ 2017

                     ε      =       ค่าความคลาดเคลื่อน



                                                      ผลการทดลอง

                     จากการศึกษาครั้งนี้ เป็นการน าข้อมูลการผสมเทียมในแต่ละพื้นที่มาวิเคราะห์ หาปัจจัยที่คาดว่าจะ

              มีผลต่ออัตราการผสมติดโดยภาพรวมจากข้อมูลการผสมเทียมให้แม่แพะทั้งหมดจ านวน 9,227 ตัว ท าการ
              ตรวจท้องด้วยเครื่องอัลตร้าซาวน์ หลังท าการผสมเทียม 40-60 วันพบว่ามีแม่แพะติดตั้งท้อง จ านวน 4,042

              ตัว คิดเป็นอัตราการผสมติดตั้งท้องจากการผสมเทียมรวมทุกพื้นที่มีค่าร้อยละ 43.8 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มี

              ผลต่ออัตราการให้ลูกของแม่แพะโดยวิธีการผสมเทียม ด้วยสมการถดถอยโลจิสติก พบว่าทุกปัจจัยที่

              ท าการศึกษามีผลท าให้ค่าอัตราการผสมติดจากการผสมเทียมแพะมีค่าแตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบ อย่าง

              มีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.05) ยกเว้น คะแนนความสมบูรณ์ของร่างการแพะขณะท าการผสมเทียม

              (p>0.05) ดังแสดงในตารางที่ 1



















                                                           94
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109