Page 109 - BBLP ejournal2018.docx
P. 109
Journal of Biotechnology in Livestock Production
อิทธิพลของปีที่ท าการผสมเทียมอิทธิพลมีผลต่ออัตราการผสมติดจากการผสมเทียมแพะด้วย
น ้าเชื้อแช่แข็ง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนในแต่ละปี อิทธิพลของ
ปีที่ท าการผสมเทียมมีผลต่ออัตราการตั้งท้องของแม่แพะด้วย (Arrebola et al., 2012) ที่เป็นเช่นนี้น่าจะ
เนื่องมาจากในแต่ละปีมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ สภาพอาหาร และสภาพการจัดการที่แตกต่างกัน
สรุปและข้อเสนอแนะ
ปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อความส าเร็จของการผสมเทียมแพะ ได้แก่ เขตพื้นที่ให้บริการ ช่วงเดือนที่ท า
การผสมปีที่ท าการผสมเทียม สถานะแม่พันธุ์ การเป็นสัดธรรมชาติ หรือการเหนี่ยวน าด้วยฮอร์โมน
ลักษณะของเมือก รวมทั้งความลึกของปืนผสมเทียมที่สอดผ่านคอมดลูก และน ้าเชื้อแช่แข็งจากพ่อพันธุ์ที่
ต่างกัน
เอกสารอ้างอิง
มาลี อภิเมธีธ ารง จักรภพ จันทร์สะอาด บรรจง จงรักษ์วัฒนา วิทยา ขจีรัมย์ อรุณ ชุมแก้ว และณรงค์ เลี้ยง
เจริญ. 2556. อัตราการตั้งท้องหลังผสมเทียมแบบก าหนดเวลาในแพะที่เหนี่ยวน าการเป็นสัดแบบ
โปรแกรมระยะสั้น. ว. วิทย. กษ. 44 (1, พิเศษ): 207-210.
นิวัตน์ ถาวระ อนนท์ เทืองสันเทียะ และบรรลือ กล ่าพูล. 2550. การเหนี่ยวน าการเป็นสัดด้วย CIDR® และ
PGF 2α ร่วมกับ PMSG ต่อการผสมติดของแพะพันธุ์ซาเนน. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิต
ปศุสัตว์ . ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2550. หน้า 1-7.
ประชารัก รัตนโชเต. 2557. ผลของความสมบูรณ์ของร่างกายแพะที่เหนี่ยวน าการเป็นสัดต่ออัตราการตั้ง
ท้องโดยการผสมเทียม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม -
มิถุนายน 2557
อภิชัย พูนชัย อนนท์ เทืองสันเทียะณรงค์ เลี้ยงเจริญ บรรลือ กล ่าพลู และมาลี อภิเมธีธ ารง. 2553. การ
เหนี่ยวน าการเป็นสัดและผสมเทียมแพะด้วยน ้าเชื้อแช่แข็ง. วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิต
ปศุสัตว์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มิถุนายน 2553. หน้า 108-119.
Arrebola, F.A, B. Pardo, M. Sanchez, M.D. Lopez and C.C. Perez-Marin. 2012. Factors influencing
the success of an artificial insemination program in Florida goats. Spanish Journal of
Agricultural Research 10(2): 338-344.
Arrebola, F.A, O. González, R. Torres and J.A. Abecia. 2013. Artificial insemination in Payoya goats:
factors affecting fertility. Animal Production Science. http://dx.doi.org/10.1071/AN13138
99