Page 47 - BBLP ejournal2018.docx
P. 47

Journal of Biotechnology in Livestock Production



              ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ประกอบด้วย จังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมีอุณหภูมิอยู่

              ระหว่าง 16.00 ถึง 37.00 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยประมาณ 853.30  มิลลิเมตร/ปี รูปแบบ
              การจัดการเลี้ยงดูแบ่งเป็น การจัดการแบบผูกยืนโรง และการจัดการแบบปล่อย
                     หุ่นจ าลองทางพันธุกรรมที่ใช้ในการศึกษามีลักษณะเป็น multiple-traits sire model โดยมีอายุเมื่อ

              คลอดลูก (เดือน) กลุ่มพันธุ์ และเฮทเทอโรซีส เป็นปัจจัยก าหนด (fixed effects) และมีกลุ่มการจัดการที่ใช้

              ในการเปรียบเทียบ พันธุกรรมแบบบวกสะสมของสัตว์แต่ละตัว และ residual effect เป็นปัจจัยสุ่ม (random
              effects) โดยสามารถเขียนอธิบายได้ดังนี้


                                       y = Xb + Qh + Z g + Z g + Z a + e
                                                                           s s
                                                          gb b
                                                                   gn n
                                                    cg

                     เมื่อ
                     y      =       เวคเตอร์ของ M305 ของแม่โคนมแต่ละตัว
                     b      =       เวคเตอร์ของอายุเมื่อคลอดลูก

                     h      =       เวคเตอร์ของกลุ่มการจัดการที่ใช้ในการเปรียบเทียบ
                      cg
                     g      =       เวคเตอร์ของกลุ่มพันธุ์
                      b
                     g      =       เวคเตอร์ของเฮทเทอโรซีส
                      n
                     a      =       เวคเตอร์ของอิทธิพลจาก additive genetic effect ของพ่อพันธุ์แต่ละตัว
                      s
                     e      =       เวคเตอร์ของความคลาดเคลื่อนสุ่ม (residual effect)

                     X      =       เมทริกซ์ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในเวคเตอร์ y ไปยังปัจจัยต่างๆ
                                    ในเวคเตอร์ b ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์แต่ละตัว
                     Q      =       เมทริกซ์ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในเวคเตอร์ y ไปยังปัจจัยต่างๆ

                                           ในเวคเตอร์ h  ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์แต่ละตัว
                                                       cg
                     Z      =       เมทริกซ์ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในเวคเตอร์ y ไปยังปัจจัยต่างๆ
                      gb
                                           ในเวคเตอร์ g  ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์แต่ละตัว
                                                       b
                     Z      =       เมทริกซ์ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในเวคเตอร์ y ไปยังปัจจัยต่างๆ
                      gn
                                           ในเวคเตอร์ g  ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์แต่ละตัว
                                                       n
                     Z      =       เมทริกซ์ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในเวคเตอร์ y ไปยังปัจจัยต่างๆ
                      s
                                           ในเวคเตอร์ a  ที่เกี่ยวข้องกับพ่อพันธุ์แต่ละตัว
                                                       s
                     ทั้งนี้ ก าหนดให้

                                                            ′
                                     y           xβ   Z G Z + H + R     H   Z G   R
                                                                             s s
                                                        a a a
                                    h             0          H          H     0     0

                                   [  cg ] ~MVN [  ] ,
                                    a s           0         G Z ′       0     G s   0
                                     e         (  0   [      s s        0     0    R])
                                                             R





                                                           37
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52