Page 48 - BBLP ejournal2018.docx
P. 48

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



                     เมื่อ   H      =      H ⨂I เมื่อH  เมทริกซ์ความแปรปรวนของกลุ่มการจัดการที่ใช้ใน
                                            0
                                                      0
                                          การเปรียบเทียบ (Ugarte et al., 1991) และ ⨂ เป็นการค านวณแบบ
                                          direct product ระหว่างเมทริกซ์ (Searle, 1982)
                            G       =      G ⨂A เมื่อ G  เป็นเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมทางพันธุกรรมแบบ
                              s
                                                       s
                                            s
                                          บวกสะสม, A เป็นเมทริกซ์ความสัมพันธ์ทางเครือญาติของสัตว์ทุกตัวใน
                                          ประชากร (Henderson, 1975)
                            R       =      R ⨂I เมื่อ R  เมทริกซ์ความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนสุ่ม
                                                       0
                                            0
                     ค่าองค์ประกอบความแปรปรวนส าหรับลักษณะ M305 ของโคนมในแต่ละกลุ่มการจัดการจะถูก
              ประมาณค่าด้วยวิธี Restricted Maximum Likelihood procedure (REML) ที่ใช้กลวิธีการค านวณค่าแบบ
              Average Information (AI) โดยโปรแกรม ASREML (Gilmour et al., 2001) จากนั้นองค์ประกอบความ

                                                                                       2
              แปรปรวนที่ประมาณค่าได้จะถูกน ามาค านวณค่าอัตราพันธุกรรม (heritability; h ) และสหสัมพันธ์ทาง
              พันธุกรรม (genetic correlation; r g) ค่าความสามารถทางพันธุกรรม (Estimated Breeding Value; EBV)

              สามารถค านวณค่าได้จากผลรวมระหว่างค่าเฉลี่ยของค่าความสามารถทางพันธุกรรมของโคนมในกลุ่ม
              พันธุกรรมเดียวกัน และค่าเบี่ยงเบนของความสามารถทางพันธุกรรมของโคนมที่ถูกพิจารณา (Westell et

              al., 1988)
                     การพิจารณาอิทธิพลร่วมระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมจะพิจารณาจากค่าสหสัมพันธ์ทาง

              พันธุกรรมส าหรับ M305 ของแต่ละกลุ่มการจัดการ จากนั้นจึงใช้ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างล าดับของสเปียร์แมน
              (Spearman’s rank-order correlation coefficient; Page, 1963) ในการเปรียบเทียบล าดับของพ่อพันธุ์ใน

              แต่ละกลุ่มการจัดการ
                                               ผลการทดลองและวิจารณ์

                     ค่าอัตราพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 (Table 2) ของโคนมที่ได้รับการเลี้ยงดูในพื้นที่ราบลุ่ม

              (FP) ของภาคตะวันตกมีค่า 0.195 ± 0.034 ขณะที่ในพื้นที่ราบเชิงเขา (PM) มีค่า 0.080 ± 0.038 และใน
              พื้นที่ชายฝั่งทะเล (CP) มีค่า 0.003 ± 0.031 และเมื่อพิจารณาตามรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู พบว่า ค่าอัตรา

              พันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 ของโคนมที่ได้รับการเลี้ยงแบบปล่อย (FS) มีค่า 0.090 ± 0.041 ส่วนการ
              เลี้ยงแบบผูกยืนโรง (TS) มีค่า 0.136 ± 0.060 ทั้งนี้ค่าอัตราพันธุกรรมที่มีค่าแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และ

              รูปแบบการจัดการเลี้ยงดูของภาคตะวันตก ชี้ให้เห็นถึง ความแตกต่างกันของความผันแปรทางพันธุกรรม
              ของพ่อพันธุ์โคนมที่ถูกน ามาใช้ประโยชน์ในแต่ละพื้นที่ และกลุ่มรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู     (Table 2) ซึ่ง

              เมื่อน ามาพิจารณาสัดส่วนความผันแปรทางพันธุกรรมต่อความผันแปรของลักษณะปรากฏของโคนมในแต่
              ละพื้นที่ และกลุ่มรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู จึงส่งผลให้มีค่าอัตราพันธุกรรมที่แตกต่างกัน















                                                           38
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53