Page 95 - แผนการสอน 63-2
P. 95
69
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
1. ให้นักเรียนตอบค าถามท้ายกิจกรรม จากนั้นน าเสนอและอภิปรายค าตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุป
ว่า ถ้าความแตกต่างของความดันอากาศระหว่างบริเวณ 2 บริเวณ มีค่ามากกว่า อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณ
หนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งได้เร็วกว่า และระยะทางระหว่างบริเวณที่มีความดันอากาศแตกต่างกันนั้นมีค่า
มากกว่า อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งได้ช้ากว่า
2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ลมเคลื่อนที่ได้เนื่องจาก
ความแตกต่างของความดันอากาศ หรือในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกว่าความกดอากาศ โดยปัจจัยที่มีผลต่อการ
เคลื่อนที่ของลม ได้แก่
- ความกดอากาศระหว่าง 2 บริเวณ
- ระยะห่างระหว่างสองบริเวณ
- สภาพแวดล้อม หรือสิ่งกีดขวางทางเดินของลม
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
1. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เกี่ยวกับอัตราเร็วลม ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วและ
ทิศทาง ลม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดลม จากนั้นท ากิจกรรมเสริม และตอบค าถามระหว่างเรียน จากนั้นครู
และนักเรียนร่วมกันอภิปรายค าตอบ
2. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น
ความกดอากาศและลมมีความสัมพันธ์กัน ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ
และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งส่งผลต่อสภาพอากาศ ของพื้นที่นั้น ๆ เช่น ความแตกต่างของ
ความกดอากาศ ท าให้เกิดลมแรงและอาจเกิดเป็นพายุได้ ครูใช้ค าถามกระตุ้นความสนใจว่ามีปัจจัยใดบ้างที่
ส่งผลต่อความชื้น และความชื้นมีความส าคัญอย่างไร ต่อสภาพลมฟ้าอากาศ
ขั้นที่ 5 การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะเข้าร่วมกิจกรรมการทดลอง การท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม สังเกต
ั
จากการรายงานหรือจากผลที่ได้จากการท ากิจกรรมของนกเรียนการตอบค าถามในชั้นเรียน
2. การตอบค าถามและสร้างแบบจ าลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูง
จากพื้นโลก