Page 3 - การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล
P. 3
ั
เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาเอกชนให้แก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง มีการพฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาเอกชนตาม
หลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การบริหารการศึกษาต้องด าเนินการตามหลักธรรมาภิบาลที่ด จึง
ี
์
ิ
ุ
้
ั
จะเป็นการบริหารที่สอดคล้องกับแนวโน้มของสภาพปัญหาและความตองการในยคโลกาภิวตน ซึ่งนาไปสู่ประสิทธภาพ และ
เป็นหลักประกันความส าเร็จของการบริหารโรงเรียน การน าหลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารการจัดการที่ดมาประยกตใช้ใน
ุ
ี
์
ั้
ิ
ึ
่
การบริหารการจัดการและปฏิบัตการในโรงเรียนนน มีจุดประสงค์ส าคัญคือการสร้างความพงพอใจอยางสูงสุดให้กับครู
นักเรียน และผู้ปกครอง โดยปัจจัยส าคัญประการแรกที่ผู้บริหารตองค านงถงในการบริหารการจัดการเพอสร้างผลประโยชน ์
ึ
ึ
้
ื่
สูงสุดให้ครู นักเรียนและผู้ปกครอง
ความเป็นมาและความส าคัญ
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการที่ดี (Good Governance)
ธรรมาภิบาลกับการศึกษา
้
ิ
ิ
ั้
ิ
้
สถานศึกษาจะมีประสิทธภาพและเกิดประสิทธผลนนจะตองมีการปฏิบัตตามหลักธรรมาภิบาล ไดระบุหลักส าคัญ
ของธรรมาภิบาลซึ่งผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องมีวิธีการประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้ในการ
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ส านกงาน ก.พ.ร.) ที่เหมาะสมจะ
ั
น ามาปรับใช้ในโรงเรียนวีรศิลป์ มี 10 องค์ประกอบดังน ี้
1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness)
ุ
ิ
ั
ผลการปฏิบัตงานที่บรรลุวตถประสงค์และเป้าหมายของแผนการปฏิบัตงานตามที่ไดรับงบประมาณมา
้
ิ
ุ
ด าเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับหน่วยงานที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน มีทิศทางยทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน
ื่
มีกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรับปรุงอยางตอเนอง
่
่
และเป็นระบบ (นิยาม : ประสิทธิผล หมายถึง บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว)
้
2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency)
การบริหารตามแนวทางการก ากับดแลที่ดที่มีการออกแบบกระบวนการปฏิบัตงานโดยใช้เทคนคและ
ี
ิ
ู
ิ
้
เครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมให้องค์การสามารถใช้ ทรัพยากรทั้งดานตนทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิด
้
ิ
้
ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัตงานเพื่อตอบสนองความตองการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม
ิ
(นิยาม : ประสิทธภาพ หมายถึง ได้ผลงานมากเมื่อเทียบกับทรัพยากรที่ใช้)
3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness)
้
้
ิ
การให้บริการที่สามารถดาเนนการไดภายในระยะเวลาที่ก าหนด และสร้างความเชื่อมั่น ความไววางใจ
รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายและมีความ
แตกต่าง
4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability)
การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัตหนาที่ และผลงานตอเป้าหมายที่ก าหนดไว โดยความรับผิดชอบ
้
่
้
ิ
ั
ั้
่
ู่
่
ั
ึ
นนควรอยในระดบที่สนองตอความคาดหวงของสาธารณะ รวมทั้งการแสดงถงความส านกในการรับผิดชอบตอปัญหา
ึ
สาธารณะ
5) หลักความโปร่งใส (Transparency)
้
้
่
ึ
้
กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัยและสามารถเขาถงขอมูลขาวสารอันไม่ตองห้าม
ิ
่
ั้
ตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยผู้มีส่วนเกี่ยวของสามารถรู้ทุกขนตอนในการดาเนนกิจกรรมหรือกระบวนการตาง ๆ และ
้
สามารถตรวจสอบได ้