Page 5 - การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล
P. 5
สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษาหลักธรรมาภิบาล จะเห็นได้ว่าหลักธรรมาภิบาล มีความส าคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
้
ในการปฏิบัติงานในสถานศึกษา การจัดการศึกษานั้น ซึ่งผู้บริหารครู และบุคลากรทางการศึกษา ตองอาศัยหลักธรรมาภิบาล
ของการบริหารกิจการที่ดี (Good Governance) ตามหลักเกณฑ์ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ส านักงาน
ั
ก.พ.ร) ย่อมน าสถานศึกษาไปสู่ความส าเร็จ เป็นแนวทางในการพฒนาสถานศึกษาให้ประสบความส าเร็จ มีประสิทธภาพและ
ิ
ิ
ประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้นไป การปฏิบัตตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการที่ด ( Good Governance) ตามหลักเกณฑ ์
ี
ั
ั
ั
ของส านกงานคณะกรรมการพฒนาระบบราชการ (ส านกงาน ก.พ.ร.) ที่เหมาะสมจะนามาปรับใช้ในสถานศึกษามี 10
องค์ประกอบหลักที่ส าคัญ และเหมาะสมส าหรับนามาก าหนดเป็นเกณฑในการประเมินการจัดระดบการก ากับดแลองค์กร
ู
ั
์
ิ
ภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประกอบด้วย 1) หลักประสิทธผล ( Effectiveness) 2) หลัก
ิ
ประสิทธภาพ ( Eficiency) 3) หลักการตอบสนอง(Responsiveness) 4) หลักภาระรับผิดชอบ ( Accountability) 5) หลัก
ความโปร่งใส(Transparency) 6) หลักการมีส่วนร่วม ( Participation) 7) หลักการกระจายอ านาจ (Decentralization) 8)
ิ
ิ
ิ
หลักนตธรรม (Rule of Law) 9) หลักความเสมอภาค ( Equity) และ 10) หลักมุ่งเนนฉนทามต ( Consensus Oriented)
้
ั
ื
โดยถอวาหลักธรรมาภิบาลเป็นหลักคิดในการปฏิบัตงานในสถานศึกษา เป็นผลให้การปฏิบัตงานบรรลุวตถประสงค์และ
่
ิ
ิ
ุ
ั
เป้าหมายที่ก าหนดไว ้