Page 1 - โครงสร้างข้อสอบวัดระดับความรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
P. 1

วิทยาศาสตร์ ม.1 (ฉบับปรุง 2560)
                                          แผนผังข้อสอบร่วมปลายภาคเรียน (Test Blueprint) โรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

                                                        รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัส 21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


                                                                              ประเภทข้อสอบ              รวม
                                                               ระดับ
                           สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด                         เลือก    ตอบ             ภาค 1  ภาค 2                   สาระการเรียนรู้
                                                             พฤติกรรม                     วิธีทำ
                                                                          ตอบ      สั้น

                สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
                ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
                สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                ว 2.1 ม. 1/1                                   เข้าใจ      1                         1               -ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวและมีสมบัติ
                อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ                                                            ทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบาง
                อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้                                                    ประการต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุ เป็น
                จากการสังเกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้                                                         โลหะอโลหะและกึ่งโลหะธาตุโลหะมีจุดเดือด จุด
                จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ
                อโลหะ และกึ่งโลหะ                                                                                    หลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า
                                                                                                                     ดึงเป็นเส้นหรือตีเป็นแผ่นบางๆได้และ มีความ
                                                                                                                     หนาแน่นทั้งสูงและต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จุด
                                                                                                                     หลอมเหลวต่ำ มีผิวไม่มันวาว ไม่นำความร้อน ไม่
                                                                                                                     นำไฟฟ้า เปราะ แตกหักง่าย และมีความหนาแน่น

                                                                                                                     ต่ำ ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ บางประการเหมือนโลหะ
                                                                                                                     และสมบัติบางประการ เหมือนอโลหะ
                ว 2.1 ม. 1/2                                  วิเคราะห  ์  1                         ๑               -ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะที่สามารถแผ่รังสี
                วิเคราะหผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และ                                                       ได้ จัดเป็นธาตุกัมมันตรังสี
                       ์
                ธาตุกัมมันตรังสี ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ                                            -ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ
                และสังคม จากข้อมูลที่รวบรวมได้                                                                       อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสีควรคำนึงถึง

                ว 2.1 ม. 1/3                                   นำไปใช้     1                         1               ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ
                ตระหนักถงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ                                                      และสังคม
                        ึ
                ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนวทางการใช้ธาตุอย่าง
                ปลอดภัย คุ้มค่า

               ศูนย์วิชาการ สังฆมณฑลราชบุรี (จัดทำเมื่อ 20 มกราคม 256๔)
   1   2   3   4   5   6