Page 8 - โครงสร้างข้อสอบวัดระดับความรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
P. 8

วิทยาศาสตร์ ม.1 (ฉบับปรุง 2560)

                                                                              ประเภทข้อสอบ              รวม
                                                               ระดับ
                           สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด                         เลือก    ตอบ             ภาค 1  ภาค 2                   สาระการเรียนรู้
                                                             พฤติกรรม                     วิธีทำ
                                                                          ตอบ      สั้น
                ว 1.2 ม. 1/13                                 นำไปใช้      1                         ๑               -การถ่ายเรณูคือ การเคลื่อนย้ายของเรณูจาก อบ
                                                                                                                                                          ั
                ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการถายเรณู                                                       เรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
                                                   ่
                ของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิตของสัตว์ที่ช่วยในการ                                                    ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของกลีบ
                ถ่ายเรณู                                                                                             ดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสร เพศเมีย
                                                                                                                     โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
                                                                                                                     -การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิซึ่งจะเกิดขึ้นที่
                                                                                                                     ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ไซ
                                                                                                                     โกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็น

                                                                                                                     เอมบริโอ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ดและรังไข่
                                                                                                                      ็
                                                                                                                     พัฒนาไปเป็นผล
                                                                                                                     -ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิมโดย
                                                                                                                     วิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมที่
                                                                                                                     เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ด โดยเอมบริโอ
                                                                                                                                                     ็
                                                                                                                     ภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะ
                                                                                                                     อาศัยอาหารที่สะสมภายในเมล็ด จนกระทั่งใบแท้
                                                                                                                     พัฒนาจนสามารถสังเคราะหด้วยแสงได้ เต็มที่
                                                                                                                                            ์
                                                                                                                     และสร้างอาหารได้เองตามปกติ

                                                                 ้
                ว 1.2 ม. 1/14                                  เขาใจ       1                         1               -พืชต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นหลายชนิดใน
                อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อ                                                         การเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต
                การเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช                                                                  -พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก
                                                                                                                     ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
                                                                                                                     แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถัน ซึ่งในดินอาจ
                                                                                                                     มีไม่เพียงพอ สำหรับการเจริญเติบโตของพืช จึง
                                                                                                                              ้
                                                                                                                     ต้องมีการใหธาตุอาหารในรูปของปุ๋ยกับพืชอย่าง
                                                                                                                     เหมาะสม


               ศูนย์วิชาการ สังฆมณฑลราชบุรี (จัดทำเมื่อ 20 มกราคม 256๔)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13