Page 8 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
P. 8
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) ปีการศึกษา 2561-2564 โรงเรียนวีรศิลป์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้าที่ 4
ิ
ี่
ุ
่
ภายในบริเวณโบสถ์คาทอลกแม่พระมหาทกข์ 7ประการเยื้องทว่าการอ าเภอทาม่วง สถานีตารวจภูธรทา
่
ี่
้
ม่วงและย่านการคาทาม่วงหรือตลาดทาม่วง โรงเรียนเนื้อท 11ไร่ 2งาน 2 ตารางวา โรงเรียนมีประวัต ิ
่
่
ิ
ความเป็นมาสืบเนื่องจากโรงเรียนประชาบาลนักบุญเทเรซา โรงเรียนวีรวิทย์ และเป็นโรงเรียนวีรศลป์ใน
ปัจจุบัน โดยมีประวัติโดยสังเขป ดังนี้
โรงเรียนประชาบาลนักเรียนเทเรซา
ั
ราวปี พ.ศ. 2438บรรดาคริสตชนที่อาศัยอยู่บริเวณส ารองอพยพย้ายครอบครัวมาตั้งหลกฐาน
ในท าเลที่ดีกว่าอุดมสมบูรณ์กว่าซึ่งย้ายมาอยู่ที่ “ท่าม่วง” ปี พ.ศ. 2443 มีคริสตชนที่ท่าม่วงประมาณ 100
้
คน และปี พ.ศ. 2458 มีคริสตชนประมาณ 300 คน บาทหลวงเอมานูแอลไดสร้างวัด เป็นเรือนไม้มุง
สังกะสี และได้เสกวัดเมื่อวันที่ 11พฤษภาคม ให้ชื่อว่าวัดแม่พระมหาทุกข์ 7 ประการ
โดยปกตเมื่อมีการสร้างโบสถ์สาหรับกลมคริสตชน ก็จะมีการสร้างโรงเรียนควบคกับโบสถ์
ู่
ิ
ุ่
ื่
ั
ึ
้
ั
ึ
ดวย ดงนั้นจงมีการสร้างโรงเรียนหลงแรกชอว่า “โรงเรียนประชาบาลนักบุญเทเรซา” โดยมีบันทกว่า
อาคารเรียนเป็นอาคารโรงไม้เล็กๆ ฝากระดาน หลังคามุงจาก จากภาพถ่ายหมู่ครู นักเรียน พ.ศ. 2476
มีบุคคลในภาพรวมจ านวน 72 คน
โรงเรียนวรวิทย์
ี
ปี พ.ศ. 2480 มีการเปลี่ยนแปลงโรงเรียนจากโรงเรียนประชาบาลนักบุญเทเรซาเป็นโรงเรียน
“วีรวิทย์” พร้อมกับการสร้างอาคารเรียนเป็นอาคารคอนกรีต หลังคากระเบื้อง โรงเรียนวีรวิทย์
ด าเนินกิจการเพียง 2ปี หยุดการจัดการเรียนการสอนเนื่องจากเกิดสงคราม
โรงเรียนวีรศิลป์
้
ั
้
ุ
หลงจากสงครามสงบดวยความพยายามของสตบุรุษชาววัดแม่พระมหาทกข์ไดมีการขอ
ั
อนุญาตจดตงโรงเรียนขึ้นใหม่โดยยังคงใชอาคารเรียนของโรงเรียนวีรวิทย์ เนื่องจากไม่สามารถใชชอ
ั
้
้
ื่
ั้
ุ
ี่
ื่
ิ
ั
เดมในการขอจดตงโรงเรียน ดงนั้นเพื่อเป็นการรักษาชอเดมให้มากทสดจงให้ชอโรงเรียนหลงใหม่ว่า
ึ
ื่
ั
ั
ิ
ั้
“โรงเรียนวีรศิลป์” โรงเรียนวีรศิลป์ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนโดยมีบาทหลวงคาร์โลเดลลาโตร์เรเป็น
เจ้าของโรงเรียน นายเท้ง ระดมกิจ เป็นผจดการ และนายนิพนธ์ ชาวนาแก้ว เป็นครูใหญ่ เปิดทาการ
ู้
ั
ั
ั้
เรียนการสอนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 เปิดเรียนครั้งแรกมีนักเรียนระดบชน ป.1 - ป.4 รวม
41 คน
โรงเรียนมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นเป็นล าดับ โดยมีการพัฒนาที่ส าคัญ
ี่
ด้านการพัฒนาอาคารสถานท พ.ศ.2502 มีการสร้างอาคารเรียนคอนกรีต หลังคากระเบื้อง
เพิ่มเติมอีก 1 หลัง (ปัจจุบันรื้อสร้างเป็นโรงพละแผนกอนุบาล) พ.ศ. 2509 มีการสร้างอาคารตึก 3 ชั้น
ให้ชื่อว่า “ตึกคาเร็ตโต” พ.ศ. 2525 มีการสร้างอาคารเรียนแผนกอนุบาลเป็นอาคารคอนกรีตหลังคา
กระเบื้องเป็นอาคารชั้นเดียว (ปจจุบันรื้อสร้างเปนอาคารปีติมหาการุญ) พ.ศ. 2527 มีการสร้างโรงพละ
ั
็
ส าหรับนักเรียนประถม-มัธยม พ.ศ. 2529 สร้างอาคารเรียน 4 ชั้นให้ชื่อว่า “อาคารเฉลิมพระเกียรติ ร. 9”
พ.ศ. 2538 ดาเนินการปรับบริเวณโรงเรียนด้วยการเทพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กส าหรับการเลนกีฬา การจอด
่
ั
รถรับส่งนักเรียน จัดท าถนนรอบสนาม และจดสวนไม้ดอกไม้ประดับ พ.ศ. 2542 สร้างอาคารเรียนแผนก
อนุบาล เป็นอาคารเรียน 3 ชั้น ให้ชื่อว่า “อาคารปีติมหาการุณ” ปี พ.ศ.2543 สร้างอาคารห้องสมุดชื่อ
ว่า “ปีติปัญญา” และสร้างโรงพละอนุบาลในปีเดียวกัน