Page 41 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 41

2.  กำรสุ่มตัวอย่ำงและแผนกำรสุ่ม

                             การศึกษาจากประชากรเป็นเรื่องยาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องเลือกกลุ่ม

               ตัวอย่างมาท าการศึกษาแทน  การเลือกกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ต้องสัมพันธ์และ

               สอดคล้องกับหน่วยวิเคราะห์ การสุ่มตัวอย่างต้องมีหลักเกณฑ์  เพื่อให้ตัวอย่างที่เลือกมา
               ศึกษาเป็นตัวแทนของประชากรอย่างแท้จริง

                      3.  ขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงที่เหมำะสม

                             การระบุขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยทั่วไปใช้การก าหนดและการเปิดตาราง
               ส าเร็จรูป Taro Yamane หรือ ตารางก าหนดกลุ่มตัวอย่างของ Krejci and Morgan หรือ

               วิธีอื่น ๆ


               5.3 กำรสุ่มตัวอย่ำงและกำรได้มำซึ่งกลุ่มตัวอย่ำง
               ขั้นตอนกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง

                       ก าหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย

                       รวบรวมสมาชิกทั้งหมดของประชากร
                       ก าหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง

                       วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

                       ท าการเลือกกลุ่มตัวอย่าง


               เทคนิคกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำง
                      1.กำรสุ่มโดยไม่ค ำนึงถึงควำมน่ำจะเป็น

                      ในบางครั้งการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น โดยวิธีการสุ่มอาจจะไม่

               สามารถท าได้หรือท าได้ยาก การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็นจึงถูก
               น ามาใช้ซึ่งการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้จะมีลักษณะเป็นอัตวิสัย (subjective)  ซึ่งมักจะท า

               ให้การประมาณค่าพารามิเตอร์ขาดความแม่นย า ดังนั้นในการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้

               มักจะใช้เมื่อไม่ต้องการอ้างอิงถึงลักษณะประชากร ส่วนใหญ่จะใช้กับงานวิจัยส ารวจ
               ข้อเท็จจริง (Exploration research) กับกลุ่มที่มีลักษณะเฉพาะและไม่ต้องการ

               เปรียบเทียบกับกลุ่มอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผลทางด้านค่าใช้จ่ายและเวลา เพราะการ

               เลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าเป็นจะมีค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยกว่าอาศัยความน่าจะ
               เป็น
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46