Page 42 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 42

1.1 การสุ่มโดยบังเอิญ (Accidental sampling) เป็นการสุ่มจาก

               สมาชิกของประชากรเป้าหมายที่เป็นใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ครบถ้วน การสุ่มโดยวิธีนี้
               ไม่สามารถรับประกันความแม่นย าได้ ซึ่งการเลือกวิธีนี้เป็นวิธีที่ด้อยที่สุด เพราะเป็นการ

               เลือกตัวอย่างที่มีลักษณะสอดคล้องกับนิยามของประชากรที่สามารถพบได้และใช้เป็นอย่าง

               ได้ทันที
               1.2 การสุ่มแบบโควตา (Quota sampling) เป็นการสุมตัวอย่างโดยจ าแนก

               ประชากรออกเป็นส่วนๆก่อน (strata)โดยมีหลักจ าแนกว่าตัวแปรที่ใช้ในการจ าแนกนั้นควร
               จะมีความสัมพันธ์กับตัวแปรที่จะรวบรวม หรือตัวแปรที่สนใจ และสมาชิกที่อยู่แต่ละส่วนมี

               ความเป็นเอกพันธ์  ในการสุ่มแบบโควตา นี้มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้

                                     1.2.1 พิจารณาตัวแปรที่สัมพันธ์กับลักษณะของประชากรที่
               ค าถามการวิจัยต้องการที่จะศึกษา เช่น เพศ ระดับการศึกษา

                                     1.2.2 พิจารณาขนาดของแต่ละส่วน (segment) ของประชากร
               ตามตามตัวแปร

                                     1.2.3 ค านวณค่าอัตราส่วนของแต่ละส่วนของประชากร ก าหนด

               เป็นโควตาของตัวอย่างแต่ละกลุ่มที่จะเลือก
                                     1.2.4.  เลือกตัวอย่างในแต่ละส่วนของประชากรให้ได้จ านวน

               ตามโควตา

                              1.3 การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive    sampling)  หรือ
                      บางครั้ง

               เรียกว่าการสุ่มแบบพิจารณา  (judgment  sampling)  เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจ

               ของผู้วิจัยในการก าหนดสมาชิกของประชากรที่จะมาเป็นสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง   ว่ามี
               ลักษณะสอดคล้องหรือเป็นตัวแทนที่จะศึกษาหรือไม่  ข้อจ ากัดของการสุ่มตัวอย่างแบบนี้

               คือไม่สามารถระบุได้ว่าตัวอย่างที่เลือก จะยังคงลักษณะดังกล่าวหรือไม่เมื่อเวลาเปลี่ยนไป
                              1.4 การสุมกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก (convenience sampling) การ

                      เลือกกลุ่ม

               ตัวอย่างโดยถือเอาความสะดวกหรือความง่ายต่อการรวบรวมข้อมูล  ข้อจ ากัดของการสุ่ม
               แบบนี้จะมีลักษณะเหมือนกับการสุ่มโดยบังเอิญ

                              1.5 การสุมตัวอย่างแบบสโนว์บอลล์ (snowball sampling) เป็นการ
               เลือกตัวอย่างในลักษณะการสร้างเครือข่ายข้อมูล เรียกว่า snowball sampling โดยเลือก
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47