Page 43 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 43
จากหน่วยตัวอย่างกลุ่มแรก (จะใช้หรือไม่ใช้ความน่าจะเป็นก็ได้) และตัวอย่างกลุ่มนี้เสนอ
บุคคลอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงต่อๆไป
ข้อจ ากัดของการสุ่มโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
1. ผลการวิจัยไม่สามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรทั้งหมดได้ จะสรุปอยู่ในขอบเขตของ
กลุ่มตัวอย่างเท่านั้น ข้อสรุปนั้นจะสรุปไปหาประชากรได้ต่อเมื่อกลุ่มตัวอย่างมี
ลักษณะต่างๆที่ส าคัญๆเหมือนกับประชากร
2. กลุ่มตัวอย่างที่ได้นั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้วิจัยและองค์ประกอบบางตัวที่ไม่
สามารถควบคุมได้ และไม่มีวิธีการทางสถิติอย่างไรที่จะมาค านวณความคลาด
เคลื่อนที่เกิดจากการสุ่ม (sampling error)
2. กำรสุ่มโดยกำรค ำนึงถึงควำมน่ำจะเป็น (probability sampling)
2.1 กำรสุ่มอย่ำงง่ำย (Simple random sampling)
สมาชิกทั้งหมดของประชากรเป็นอิสระซึ่งกันและกัน แล้วสุ่มหน่วยของการสุ่ม
(Sampling unit) จนกว่าจะได้จ านวนตามที่ต้องการ โดยแต่ครั้งที่สุ่ม สมาชิกแต่ละหน่วย
ของประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่าเทียมกัน ซึ่งก่อนที่จะท าการสุ่มนั้น จะต้องนิยาม
ประชากรให้ชัดเจน ท ารายการสมาชิกทั้งหมดของประชากร สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีที่ท าให้
โอกาสในการของสมาชิกแต่ละหน่วยในการถูกเลือกมีค่าเท่ากัน ซึ่งสามารถท าได้ 2 วิธี คือ
2.1.1 การจับฉลาก
2.1.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random number) ซึ่งตัวเลข
ในตารางได้มาจากการอาศัยคอมพิวเตอร์ก าหนดค่า หรือบางครั้งสามารถใช้วิธีการดึง
ตัวอย่างโดยอาศัยโปรแกรมส าเร็จรูป
ในการสุ่มอย่างง่าย มีข้อจ ากัดคือ ประชากรต้องนับได้ครบถ้วน (finite
population) ซึ่งบางครั้งอาจสร้างปัญหาให้กับนักวิจัย
2.2 กำรสุ่มแบบเป็นระบบ (systematic sampling)
ใช้ในกรณีที่ประชากรมีการจัดเรียงอย่างไม่ล าเอียง
1) ประชากรหารด้วยจ านวนกลุ่มตัวอย่าง (K = N/n)
2) สุ่มหมายเลข 1 ถึง K (ก าหนดสุ่มได้หมายเลข r )