Page 13 - รายงานภาวะอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ของประเทศไทย
P. 13
Q u a r t e r l y R e p o r t Q 3 - 2 0 1 9 | 13
ในไตรมาสที่สี่ของปี 2562 เศรษฐกิจโลกเริ่มมีสัญญาณของ โดยเฉพาะ การนำเข้าจากประเทศจีนที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 23.8
การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจในหลายประเทศ โดยเฉพาะ เศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังได้รับแรงสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนที่
สหรัฐฯ รวมทั้งประเทศในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งมีอัตราการขยายตัว ยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้น
ทางเศรษฐกิจดีขึ้นจากไตรมาสที่สาม โดยมีแรงสนับสนุนสำคัญ ของการจ้างงาน ซึ่งส่งผลให้อัตราการว่างงานทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ
จากห่วงโซ่การผลิตและการค้าระหว่างประเทศที่เริ่มปรับตัวต่อ ที่ร้อยละ 3.5 ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 50 ปี สำหรับอัตราเงิน
มาตรการกีดกันทาง การค้าได้มากขึ้น และการผ่อนคลายลงของ เฟ้อพื้นฐาน (Core PCE) เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.6 ทรงตัวอยู่ในระดับ
ความตึงเครียดจากมาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และ ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อนหน้า การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ และ
จีน ภายหลังการเจรจาการค้าระดับรัฐมนตรีระหว่างสหรัฐฯ และ ตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบาย
จีนในช่วงวันที่ 19 - 20 กันยายน 2562 ซึ่งมีผลให้สหรัฐฯ ประกาศ การเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FOMC) มีมติให้คงอัตรา
เลื่อนการปรับเพิ่มอัตราภาษีสินค้านำเข้าจากจีนมูลค่า อกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับร้อยละ 1.50 - 1.75 ในการประชุมเมื่อ
ด
2.5 แสนล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่ง เดิมจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ วันที่ 10 - 11 ธันวาคม 2562 ภายหลังจากปรับลดอัตราดอกเบี้ย
15 ตุลาคม 2562 และการเก็บภาษีนำเข้าจากจีนเพิ่มเติมอีกมูลค่า นโยบายไปแล้วทั้งสิ้น 3 ครั้งในช่วงปี 2562
1.6 แสนล้าน ดอลลาร์สรอ. ซึ่งเดิมจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ รวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.3
15 ธันวาคม 2562 ออกไป ในขณะเดียวกันทางรัฐบาลจีนก็ได้ ชะลอลงจากร้อยละ 2.9 ในปีก่อนหน้า และเป็นการขยายตัว
ประกาศจะนำเข้าสินค้าเกษตรจากสหรัฐฯ มูลค่าประมาณ ต่ำสุดในรอบ 3 ปี โดยเป็นการชะลอตัวตามการบริโภค
4-5 หมื่นล้านดอลลาร์สรอ.ต่อปี อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของ ภาคเอกชนและการส่งออก เป็นสำคัญ
เศรษฐกิจโลกยังคงเป็นไปอย่างเปราะบางสะท้อนจากการผลิต
ภาคอุตสาหกรรมของประเทศ เศรษฐกิจสำคัญๆ อาทิ ยูโรโซน
และญี่ปุ่น ที่ยังคงปรับตัวลดลงรวมถึงอุปสงค์ภายในประเทศของ เศรษฐกิจกลุ่มประเทศยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 0.9 เทียบกับ
หลายประเทศที่ยังคงขยายตัวได้ในเกณฑ์ต่ำ ท่ามกลางความกังวล ร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวต่ำสุด
เกี่ยวกับแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเป็นไปอย่าง ในรอบ 24 ไตรมาส การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจเป็นผลมาจาก
เปราะบางและอัตราเงินเฟ้อที่ยังคงอยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย การปรับตัวลดลงของการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเป็นสำคัญซึ่ง
นโยบายการเงิน ทำให้ธนาคารกลางของประเทศสำคัญๆ ยังคง ได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้าและการปรับ
ดำเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องโดย มาตรฐานไอเสียใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อการผลิตในหมวดยานยนต์
ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอีก 1 ครั้ง โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 46.4
ในเดือนตุลาคม 2562 ส่งผลให้ทั้งปี 2562 ธนาคารกลางสหรัฐฯ เท่ากับในไตรมาสที่ 3 ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับ 50 ต่อเนื่องกันเป็นไตร
ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงทั้งหมด 3 ครั้ง รวมร้อยละ 0.75 มาสที่ 4 สอดคล้องกับอัตราการใช้กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม
มาอยู่ที่ร้อยละ 1.25 - 1.50 ในขณะที่ธนาคารกลางยุโรปได้ดำเนิน ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 81.0 เป็นระดับที่ต่ำที่สุดในรอบ 20 ไตรมาส
มาตรการผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติมโดยการเข้าซื้อพันธบัตร นับตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี 2558 ในขณะเดียวกันการบริโภคภาค
และมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำแก่ธนาคารพาณิชย์ ส่วนธนาคาร ครัวเรือนชะลอตัวลง สะท้อนจากดัชนีการค้าปลีก ที่ขยายตัว
กลางจีนได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราส่วนสินทรัพย์ ร้อยละ 1.8 ชะลอลงจากร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า
สภาพคล่องลงอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกับธนาคารกลางอีกหลาย
ประเทศสำคัญๆ ที่ได้ทยอยปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อาทิ สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค ที่ลดลงซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผล
ออสเตรเลีย อินเดีย เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย ฮ่องกง เม็กซิโก รัสเซีย จากความวิตกกังวลต่อความไม่แน่นอนในกระบวนการแยกตัวของ
และบราซิล สหราชอาณาจักร ออกจากสหภาพยุโรปแบบไร้ข้อตกลง
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.3 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 2.1 อย่างไรก็ดี อัตราการว่างงานยังคงอยู่ในระดับเฉลี่ยร้อยละ 7.4
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งขึ้นของการลงทุนภาครัฐที่ สำหรับอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.0 ใกล้เคียงกับร้อยละ 0.9
ขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 6.5 ซึ่งเป็นการขยายตัวสูงสุดเป็น ในไตรมาสก่อนหน้า ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปเมื่อวันที่
ประวัติการณ์นับตั้งแต่ปี 2546 และการส่งออกสุทธิที่เพิ่มขึ้นเป็น 12ธันวาคม 2562 จึงยังคงดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย
ผลมาจากการลดลงของการนำเข้าซึ่งลดลงครั้งแรกในรอบ 10 ปี ต่อไปทั้งการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่ำ มาตรการเพิ่ม
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
ที่มา : รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สาม ทั้งปี 2561 และแนวโน้มปี 2562 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รูปภาพ: www.freepik.com, www.flaticon.com