Page 14 - รายงานภาวะอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ของประเทศไทย
P. 14
Q u a r t e r l y R e p o r t Q 3 - 2 0 1 9 | 14
ปริมาณการเข้าซื้อพันธบัตร (Asset Purchase Programme) สหรัฐฯ ส่วนทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่
มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 3.108 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2562 สูงสุด
(TLTROs III) และการกำหนดจำนวนเงินสดสำรองขั้นต่ำซึ่งจะไม่ ในรอบ 6 เดือน ในขณะที่สัดส่วนหนี้สินของภาคธุรกิจยังคงอยู่ใน
ถูกคิดอัตราดอกเบี้ย ติดลบ (Two-tier System) ระดับสูงที่ร้อยละ 154.5 ต่อ GDP เงื่อนไขการชะลอตัวทาง
รวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจยูโรโซนขยายตัวร้อยละ 1.2 โดย เศรษฐกิจและแรงกดดันด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งผลให้
เป็นการขยายตัวต่ำสุด ในรอบ 3 ปี และชะลอลงจากร้อยละ ธนาคารกลางจีน (PBOC) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเงินกู้
1.9 ในปี 2561 โดยเป็นการชะลอตัวตามการส่งออกและ (Loan Prime Rate: LPR) ระยะ 1 ปี เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน
การผลิตภาคอุตสาหกรรมเป็นสำคัญ 2562 จากร้อยละ 4.20 ลงมาอยู่ที่ร้อยละ 4.15
รวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจจีนขยายตัวร้อยละ 6.1 ชะลอลง
เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า จากร้อยละ 6.7 ในปี 2561 และเป็นการขยายตัวต่ำสุดในรอบ
ตามการลดลงของการบริโภคภาคเอกชน และการส่งออกเป็น 29 ปี โดยเป็นผลจากการชะลอตัวของ ภาคบริการ ภาคการ
สำคัญ โดยดัชนีค้าปลีกลดลงร้อยละ 3.8 เป็นการลดลงครั้งแรกใน ผลิตอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม ป่าไม้ ปศุสัตว์
รอบ 13 ไตรมาส ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นอัตราภาษีเพื่อ และประมง
การบริโภคที่เริ่มบังคับใช้ในเดือนตุลาคม สอดคล้องกับดัชนีความ
เชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังอยู่ในระดับต่ำ ในขณะเดียวกันการส่งออก เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน ส่วนใหญ่มูลค่าการส่งออกเริ่ม
ลดลงร้อยละ 4.4 เป็นการลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่สี่ ปรับตัวดีขึ้นสอดคล้องกับมูลค่าการนำเข้าของจีนที่กลับมา
สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ปรับตัวลดลงสู่ระดับ ขยายตัวในไตรมาสนี้ โดยเศรษฐกิจอินโดนีเซีย ขยายตัว
49.5 ต่ำกว่าระดับ 50.0 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่สี่เช่นเดียวกัน ร้อยละ 5.0 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า โดยมีแรงสนับสนุนจากการ
สำหรับอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.5 ยังคงต่ำกว่าระดับ ส่งออกสินค้าและบริการสุทธิที่ปรับตัวดีขึ้น ขณะที่อุปสงค์
เป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 ส่งผลให้ในการประชุมเมื่อ ภายในประเทศยังชะลอตัวต่อเนื่อง และเศรษฐกิจฟิลิปปินส์
วันที่ 26 ธันวาคม 2562 ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ยังคงอัตรา ขยายตัวร้อยละ 6.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อนหน้า
ดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับร้อยละ -0.1 และดำเนินมาตรการผ่อน ตามการเร่งตัวขึ้นของการใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนรวม รวมทั้งการ
คลายทางการเงินไว้ที่ระดับเดิม ส่งออกสินค้าและบริการ ในขณะที่เศรษฐกิจมาเลเซียขยายตัว
รวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจญี่ปุ่นคาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 3.6 ชะลอลงจากร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการ
ร้อยละ 1.0 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 0.3 ในปี 2561 โดยมีแรง ลงทุนรวมที่ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง และการส่งออกสินค้าและ
สนับสนุนจากการฟื้นตัวของการส่งออก เป็นสำคัญ บริการสุทธิซึ่งลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส และเศรษฐกิจ
เวียดนามขยายตัวร้อยละ 7.0 ชะลอลงจากร้อยละ 7.5 ในไตรมาส
เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 6.0 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า ก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของภาคอุตสาหกรรมและการก่อสร้าง
และยังคงเป็นอัตราการขยายตัวที่ต่ำสุดในรอบ 111 ไตรมาส โดย รวมทั้งภาคเกษตรกรรม ในขณะที่ภาคบริการยังคงขยายตัวเร่งขึ้น
ได้รับแรงขับเคลื่อนจากอุปสงค์ภายในประเทศที่ยังขยายตัว สำหรับอัตราเงินเฟ้อส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงตามราคาสินค้าใน
ต่อเนื่องทั้งการบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร หมวดอาหารเป็นสำคัญ ยกเว้นอัตราเงินเฟ้อของเวียดนามที่
ในขณะที่การส่งออกสุทธิปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ ปรับตัวเพิ่มขึ้น
5 ไตรมาส โดยเป็นผลจากมูลค่าการนำเข้าที่กลับมาขยายตัวและ รวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
เพิ่มขึ้นเร็วกว่าการส่งออก ในขณะที่การนำเข้าจากสหรัฐฯ ลดลง และ เวียดนาม ขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 4.3 ร้อยละ 5.9
ร้อยละ 1.5 และการส่งออกไปสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 18.0 และร้อยละ 7.0 ชะลอลงจากร้อยละ 5.2 ร้อยละ 4.7
ด้านอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 4.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ใน ร้อยละ 6.2 และร้อยละ 7.1 ในปี 2561 ตามลำดับ
ไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นการขยายตัวสูงสุดในรอบ 32 ไตรมาส
ซึ่งเป็นผลมาจากการเร่งตัวขึ้นของราคาในหมวด อาหารโดยเฉพาะ
เนื้อสุกรซึ่งได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์
แอฟริกาในสุกรและการเพิ่มขึ้นของ ภาษีนำเข้าหลายรายการจาก
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
ที่มา : รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สาม ทั้งปี 2561 และแนวโน้มปี 2562 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รูปภาพ: www.freepik.com, www.flaticon.com