Page 15 - รายงานภาวะอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ของประเทศไทย
P. 15
Q u a r t e r l y R e p o r t Q 3 - 2 0 1 9 | 15
เศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 0.8 ใกล้เคียงกับการขยายตัว
ร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีแรงสนับสนุนจากการขยาย
ตัวเร่งขึ้นของภาคบริการ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตยังคง
ลดลงติดต่อกัน เป็นไตรมาสที่ 4 สอดคล้องกับภาคการก่อสร้างที่
ชะลอตัวลงและขยายตัวต่ำสุดในรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่เศรษฐกิจ
ฮ่องกงยังคงลดลงร้อยละ 2.9 ซึ่งเป็นการลดลงติดต่อกันเป็นไตร
มาสที่ 2 ตามการลดลงของการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนรวม
และการส่งออกสินค้าเนื่องจากผลกระทบของเหตุการณ์การ
ประท้วงภายในประเทศที่ยังคงยืดเยื้อ สำหรับอัตราเงินเฟ้อส่วน
ใหญ่เร่งตัวขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าตามการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า
หมวดอาหารโดยเฉพาะ ราคาเนื้อสุกรที่ได้รับผลกระทบจากการ
แพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ยกเว้นฮ่องกงที่อัตรา
เงินเฟ้อชะลอ ตัวลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากการลดลงของราคา
หมวดที่พักอาศัยและหมวดสาธารณูปโภค
เมื่อรวมทั้งปี 2562 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไต้หวัน และ
สิงคโปร์ ขยายตัวร้อยละ 2.0 2.7 และร้อยละ 0.7 เทียบกับร้อย
ละ 2.7 2.7 และ ร้อยละ 3.2 ในปี 2561 ตามล าดับ ในขณะที่
เศรษฐกิจฮ่องกงลดลงร้อยละ 1.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ
3.1 ในปี 2561 และเป็นการขยายตัวต่ำสุดในรอบ 10 ปี
แนวโน้มเศรษฐกิจโลกปี 2563 ในปี 2563 เศรษฐกิจและปริมาณ
การค้าโลกมีแนวโน้มที่จะปรับตัวดีขึ้นอย่างช้าๆ ต่อเนื่องจาก
สัญญาณการฟื้นตัวของการผลิตและส่งออกของประเทศสำคัญๆ
หลายประเทศในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2562 ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับ
ปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของบรรยากาศทางเศรษฐกิจ
ที่เกิดจากการลดลงของความตึงเครียดทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ
และจีน ความเสี่ยงจากการแยกตัวของสหราชอาณาจักรแบบ
ไร้ข้อตกลง ความชัดเจนของข้อตกลงการค้าสหรัฐฯ-เม็กซิโก-
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ NIEs) ส่วนใหญ่เริ่ม แคนาดา (USMCA) และการปรับตัวของห่วงโซ่การผลิตและการค้า
ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าตามการฟื้นตัว ของการส่งออก ระหว่างประเทศต่อมาตรการกีดกันทางการค้า เมื่อรวมกับการ
สินค้าและการลงทุนภาคเอกชน ภายหลังจากความตึงเครียดจาก ผ่อนคลายนโยบายการเงินและการคลังอย่างต่อเนื่องในปีที่ผ่านมา
การดำเนินมาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนเริ่ม คาดว่าจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศเศรษฐกิจหลักทั้งสหรัฐฯ
ผ่อนคลายลงและแรงสนับสนุนจากการดำเนินนโยบายกระตุ้น ยูโรโซน จีน และญี่ปุ่น ขยายตัวในเกณฑ์ที่น่าพอใจ รวมทั้งเป็น
เศรษฐกิจ ในช่วงก่อนหน้า โดยเศรษฐกิจเกาหลีใต้ขยายตัวร้อยละ ปัจจัยสนับสนุนให้เศรษฐกิจอินเดีย กลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่
2.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.0 ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของ ภาคบริการ
และการกลับมาขยายตัวของภาคการก่อสร้าง ในขณะที่ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ และกลุ่มประเทศอาเซียนปรับตัวดี
ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรชะลอตัว เศรษฐกิจไต้หวัน ขึ้นจากปี 2562 อย่างไรก็ตามความต่อเนื่องในการฟื้นตัวและ
ขยายตัวร้อยละ 3.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.0 ตามการเร่งตัวขึ้นของ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและการค้าโลกในช่วงที่เหลือของปี
การบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนรวม 2563 เริ่มมีข้อจำกัดและปัจจัยเสี่ยง เพิ่มเติมจากการแพร่ระบาด
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
ที่มา : รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สาม ทั้งปี 2561 และแนวโน้มปี 2562 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รูปภาพ: www.freepik.com, www.flaticon.com