Page 3 - เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พว31001
P. 3

1. กลุ่มขนาดทราย (sand separate) ภาพที่ 3.1 สามารถมองเห็นด้วยตา อนุภาคไม่เกาะยึดกับ

       อนุภาคอื่น ๆ สากมือ ไม่เหนียว ปั้นเป็นรูปต่าง ๆ ไม่ได้ และไม่พองตัวหรือหดตัว ประกอบด้วยแร่ ควอตซ์ และ

       เฟลด์สปาร์ เป็นส่วนใหญ่

                                                           ี่
              2. กลุ่มขนาดทรายแป้ง (silt separate) ภาพท 3.1 สามารถมองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดามี
       ลักษณะอ่อนนุ่นคล้ายแป้งผัดหน้า มีความเหนียวเล็กน้อย ยึดติดกับอนุภาคอื่นได้เล็กน้อย ปั้นเป็นรูปต่าง ๆ ได้

                                                     ่
       ซึ่งประกอบด้วยแร่ ควอตซ์ และ เฟลด์สปาร์ เป็นสวนใหญ่ และมีแร่ดินเหนียวปริมาณเล็กน้อย
              3. กลุ่มขนาดดินเหนียว (clay separate) ภาพที่ 3.1 สามารถมองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์

       อิเล็กตรอนมีลักษณะเหนียวเหนอะหนะสามารถปั้นรูปต่าง ๆ ได้ดีเมื่อชุ่ม แข็งเมื่อแห้ง พองตัวและหดตัวได้

       ประกอบด้วยแร่ดินเหนียวเป็นส่วนใหญ่

















                           ภาพที่ 3.1 แสดงขนาดของอนุภาคทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว

                                                ที่มา (Anon, 2002)



       โครงสร้างของดิน

                        อนุภาคของดินที่มีการจัดเรียงกันและเชื่อมยึดกันเป็นเม็ดดินและเม็ดดินจะมีการเชื่อมโยงกัน

       ระหว่างเม็ดดิน  กลายเป็นโครงสร้างของดิน  การที่ดินจะเกิดโครงสร้างได้นั้น  จะต้องประกอบด้วยลักษณะ

       ส าคัญครบ 2 ประการคือ มีการจัดเรียงตัวแล้วเชื่อมยึดติดกันเกิดเป็นเม็ดดิน และเม็ดดินที่เกิดขึ้นนั้นจะต้องมี

       รูปร่างคล้ายคลึงกัน                                          หน้าที่และความส าคัญของโครงสร้างของดิน
       บุญชุม  เปียแดง  (2526)  ได้กล่าวถึงหน้าที่  ความส าคัญ  ตลอดจนปัจจัยที่ควบคุมการเกิดโครงสร้างของดินไว ้

       ดังนี้

              1. เป็นที่ส าหรับการระบายน้ าหรือการเคลื่อนที่ของน้ าภายในดิน ถ้าเราพิจารณาดูโครงสร้างของดิน

       ระหว่างโครงสร้างนั้นจะมีช่องว่าง ยกเว้นดินที่มีโครงสร้างทึบ ซึ่งมีช่องว่างน้อย หรือเล็กมากจนสังเกตได้ยาก

       ช่องว่างเหล่านั้นเป็นที่จ ากัดส าหรับการเคลื่อนที่ของน้ า

                                                                                     ่
              2. เป็นที่ส าหรับการเคลื่อนที่ของอากาศ เช่นเดียวกับน้ า เพียงแต่ว่าถ้ามีช่องวางที่น้ ายังไม่เต็ม อากาศก็
       จะเข้าไปแทนที่ได้

              3. การปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช การแลกเปลี่ยนประจุธาตุอาหารเพื่อพืชจะได้ ดูดเอาไปใช้ โดย
   1   2   3   4   5   6   7   8