Page 5 - เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พว31001
P. 5
ต่อการเพาะปลูก ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม เช่น การเสียดสีกับเครื่องมือ และการปะทะกับหยดฝน
้
เป็นต้น เมื่อพูดถึงโครงสรางของดินที่เกี่ยวกับการเกษตร เราพิจารณา 3 เรื่อง ดังนี้
1. รูปร่างและขนาดของโครงสร้างดิน
รูปร่างของเม็ดดินที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม เป็นรูปร่างที่เหมาะสมที่สุดในการจัดการด้านโครงสร้างของดิน
ี่
ขนาดที่เหมาะสมทสุดของเม็ดดินที่เป็นทรงกลมขนาด 0.25 มิลลิเมตร เพราะจะมีช่องว่างที่พอเหมาะในการท ี่
ี่
จะท าให้เกิดการดูดยึดน้ า และการเคลื่อนที่ของอากาศและน้ า ในปริมาณทเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
มากกว่าเม็ดดินที่มีขนาดเล็กและใหญ่กว่านี้
2. ความคงทนของก้อนดิน
หมายถึง การทนทานต่อแรงเสียดสีหรือแรงปะทะต่าง ๆ เช่น น้ า, หยดฝน, ลมถ้าก้อนดินไม่มีความคงทน
น้ าฝนหรือลมก็จะทาให้ก้อนดินแตกยุ่ยได้ง่ายก็จะท าให้ดินที่แตกไปปิดช่องว่างท าให้น้ าไม่สามารถซึมลงไปใน
ดินท าให้เกิดน้ าไหลบ่า (runoff) ซึ่งน้ าจะพัดพาเอาหน้าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไปท าให้ได้พื้นที่ ที่ไม่
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกเนื่องจากขาดธาตุอาหาร และมีผลต่อการท างานของรากพืช
3. ขนาดและความต่อเนื่องกันของช่องว่างในดิน
โครงสร้างทเหมาะสมต่อการเพาะปลูกคือต้องมีขนาดใหญ่และขนาดเล็กในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ความ
ี่
ต่อเนื่องกันหรือการเชื่อมโยงต่อกันของช่องว่างในดินเป็นปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่ง เนื่องจากพืชต้องการน้ าและ
อากาศในการเจริญเติบโตในขณะที่รากพืชใช้พลังงานในการทากิจกรรมต่างๆซึ่งต้องใช้ก๊าซออกซิเจนในการท า
ให้เกิดพลังงาน ส่วนของรากพืชต้องขับถ่ายของเสียพวกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนน้ าช่วยในการละลายธาตุ
อาหารให้อยู่ในรปของสารละลาย ถ้าช่องว่างในดินไม่มีความต่อเนื่องจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
ู
เนื่องจากรากของพืชขาด ก๊าซออกซิเจน และในดินมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากจะท าปฏิกิริยากับน้ าได้มาก
ท าให้ได้กรดคาร์บอนิก (H CO ท าให้ดินบริเวณนั้นเกิดเป็นดินกรดได้ ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชได้
3)
2
ความพรุนของดิน
ความพรุนของดิน คือช่องว่างในดิน ช่องว่างในดินประกอบด้วยช่องว่างขนาดใหญ่
(macropore) น้ าและอากาศสามารถเคลื่อนที่ได้ดี และช่องว่างขนาดเล็ก (micropore) ซึ่งเป็นส่วนที่เก็บ
ความชื้นไว้ น้ าจะไหลผ่านได้ยาก ในดินประเภทดินทรายซึ่งเป็นเนื้อดินหยาบ จะมีช่องว่างขนาดใหญ่มีจ านวน
มาก โดยมีช่องว่างอยู่ระหว่าง 35 – 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนดินเหนียวซึ่งมีเนื้อดินละเอียด โดยมีช่องว่างขนาดเล็ก
ั้
อยู่เป็นจ านวนมากซึ่งมีช่องว่างอยู่ระหว่าง 40 – 60 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของดินที่อัดตัวแน่นจะมีช่องว่างทงหมด
อยู่เพียง 25 – 30 เปอร์เซ็นต์
2.การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและผลกระทบ