Page 5 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 5

บทนํา



                    ยางพาราเปนพืชสําคัญเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย กอเกิดการ
                             ี
                                                                   ุ
            สรางงานและอาชพในพื้นที่ สงผลใหเกิดความเขมแขงของชมชน และ
                                                         
                                                             ็
            นอกจากนั้นยางพารายังชวยในการรักษาสภาพแวดลอมอีกดวย ประเทศไทยมี
                                                       
                                  ั
            การปลูกยางมากเปนอันดบสองของโลก โดยมีมูลคาการสงออกยางมากเปน
            อันดบหนงของโลก และสวนที่เหลือเปนการใชในประเทศ โดยตลาดหลัก
                     ึ่
                                                     
                ั
            สําคัญที่สงออกไปยัง ไดแก จีน มาเลเซีย ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต
                                
            สวนใหญจะสงออกในรูปของยางแปรรูปขนตน ยางแทง ประกอบดวย ยาง
                                                                      
                                                   
                                                ั้
            แผนรมควัน ยางเครพ น้ํายางขน และผลิตภัณฑ
                                                     ั้
                                                                           
                    การปลูกสรางสวนยางในประเทศไทยนน ปลูกครั้งแรกในภาคใตที่
                                                                  ั
                                                                           
            จังหวัดตรัง เมื่อป พ.ศ. 2443 โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภกดี และไดมี
            การขยายพื้นที่ปลูกไปยังเขตภาคตะวันออก คือ จังหวัดจันทบุรี ใน พ.ศ. 2451
                                                                     
                                                       ั
            โดยหลวงราชไมตรี ตอมาจึงขยายพื้นที่ปลูกไปจังหวดอื่นๆในภาคใตและภาค
                                                      
                                                         
                                                                    ุ
                                           ั
                ั
            ตะวนออกจึงเรียกพื้นที่ 14 จังหวดทางภาคใต ไดแก กระบี่ ชมพร ตรัง
                                         ี
            นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตาน พังงา พัทลุง ภเก็ต ระนอง ยะลา สงขลา
                                                      ู
            สตูล และสุราษฏรธานี กับ 3 จังหวัดในภาคตะวนออก ไดแก ระยอง จันทบุรี
                                                            
                                                    ั
                                              ิ
                                                   ื่
            และตราด วาเขตหรือ “พื้นที่ปลูกยางเดม” เนองจากมีการปลูกยางมากกวา
                                                                           
            100 ป และมีสภาพแวดลอมที่ใกลเคยงกับแหลงกําเนดยางพาราที่อยในแถบ
                                                                      ู
                                                         ิ
                                          ี
            ลุมนาอเมซอน ประเทศบราซิล ซึ่งตงอยทางตอนบนของทวปอเมริกาใต ที่
                                                                ี
                ้ํ
                                                                          
                                           ั้
                                               ู
            ละตจูด 5 องศา ซึ่งยางพาราสามารถเจริญเตบโตไดด เชนเดยวกันกับใน
                                                                  ี
                                                            ี
                                                          
                ิ
                                                    ิ
                                                              
                                                                        ื
            ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนชื้น ระหวางละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนอ กับ
            20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหวางลองติจูด 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออก
            กับ 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก

            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10